สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดสุโขทัย
3. 3 .1 ระดับของผลกระทบที่สถานประกอบการได้รับจากสถานการณ์โควิด 19 ปี พ.ศ. 2564 สถานประกอบการได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ผลกระทบที่อยู่ในระดับปานกลางถึงมากที่สุด คือ รายได้/ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง จำนวนลูกค้าลดลง ต้นทุนในการดำเนินธุรกิจสูงขึ้น และสภาพคล่องทางการเงินลดลง สำหรับผลกระทบที่มีต่อ สถานประกอบการในระดับน้อยถึงระดับไม่มีผลกระทบ คือ เรื่องชะลอการจ้างพนักงานใหม่ การเลิกจ้าง พนักงาน และความล่าช้าในการขนส่งสินค้า และในปี พ.ศ. 2565 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ยังคงส่งผลกระทบ ต่อสถานประกอบการเช่นเดียวกันกับปี พ.ศ. 2564 คือ รายได้/ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง จำนวนลูกค้าลดลง ต้นทุนในการดำเนินธุรกิจสูงขึ้น และสภาพคล่องทางการเงินลดลง สำหรับผลกระทบที่มีต่อสถานประกอบการ ในระดับน้อยถึงระดับไม่มีผลกระทบ คือ เรื่องชะลอการจ้างพนักงานใหม่ การเลิกจ้างพนักงาน และความล่าช้า ในการขนส่งสินค้า ตาราง ฉ ร้อยละของสถานประกอบการ จำแนกตามระดับของผลกระทบที่ได้รับจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ใน ปี 2564 และ ปี 2565 รายการ ระดับผลกระทบที่ได้รับ ปี 2564 ปี 2565 ไม่มี ผลกระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด ไม่มี ผลกระทบ น้อย ที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก มาก ที่สุด รายได้/ยอดสั่งซื้อสินค้าลดลง 1.6 4.4 6.2 24.7 37.1 26.0 2.4 4.9 4.7 26.6 44.9 16.6 จำนวนลูกค้าลดลง 2.7 4.3 7.9 25.0 35.2 24.9 3.5 3.6 7.2 27.7 41.5 16.5 ต้นทุนในการดำเนินธุรกิจสูงขึ้น 3.0 7.8 5.1 27.5 33.4 23.2 3.7 7.6 5.5 22.3 38.9 22.0 สภาพคล่องทางการเงินลดลง 11.8 6.4 5.9 31.1 29.2 15.5 11.6 7.0 3.0 33.3 33.6 11.5 ชะลอการจ้างพนักงานใหม่ 91.3 2.1 1.4 2.9 1.2 1.2 90.9 2.3 1.5 3.4 1.1 0.9 เลิกจ้างพนักงาน 93.0 3.0 1.3 1.2 0.8 0.7 92.7 2.7 1.7 1.7 0.6 0.6 ความล่าช้าในการขนส่งสินค้า 87.1 2.5 2.4 5.7 1.6 0.7 87.0 3.4 2.6 5.8 0.9 0.4 3.3 ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==