สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ.2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ จังหวัดสุโขทัย

3.3. 3 การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โควิด 19) พิจารณาการฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยการเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 ( ปีก่อนเกิดสถานการณ์โควิด 19) พบว่า สถานประกอบการส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับ ยังหดตัวมาก ร้อยละ 37. 4 รองลงมาร้อยละ 3 0.8 ยังอยู่ในระดับทรงตัว และร้อยละ 2 4.7 ยังคงหดตัว โดยร้อยละ 6.9 ของสถานประกอบการเริ่มฟื้นหรือขยายตัวบ้างแล้ว มีเพียงร้อยละ 0. 2 ของสถานประกอบการ ที่ขยายตัวได้ดี ซึ่งสถานประกอบการที่มีสถานการณ์หดตัวมาก จนถึงสถานการณ์ระดับทรงตัว มีอุปสรรค ที่ทำให้ไม่สามารถฟื้นตัวได้ร้อยละ 97.2 เนื่องจากกำลังซื้อยังคงอ่อนแอ รองลงมาเป็นเรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรม ของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง ร้อยละ 39.6 มาตรการภาครัฐ ร้อยละ 8.4 ในเรื่องการขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับ สู่ระดับปกติ ร้อยละ 3.8 และขาดแคลนแรงงาน ร้อยละ 0.9 ส่วนที่เหลือร้อยละ 0.3 เนื่องจากลูกค้า มีการสั่งซื้อสินค้าจากประเทศอื่น ๆ อยู่ในระดับทรงตัว 30.8 % ยังหดตัวมาก 37.4 % 97.2 % 39.6 % 8.4 % 3.8 % 0.9 % 0.3 % พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง มาตรการภาครัฐ การขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ระดับปกติ ขาดแคลนแรงงาน ลูกค้ามีการสั่งซื้อจากประเทศอื่น ๆ กำลังซื้อยังคงอ่อนแอ ภาพที่ 2 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามการฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วน รายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 ยังคงหดตัว 24.7 % เริ่มฟื้นหรือขยายตัวบ้างแล้ว 6.9 % ขยายตัวได้ดี 0.2 %

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==