สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 อุตสาหกรรมการผลิต: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 (อุตสาหกรรมการผลิ ต: ภาคตะวันออกเฉียงเหนื อ) 18 National Statistical Office 3 . 2 . 2 มูลค่าผลผลิต ค่าใช้จ่ายขั้นกลาง และมูลค่าเพิ่ม ในด้ านการดำเนิ นกิจการของสถานประกอบการอุตสาหกรรมการผลิ ต ในภาคตะวันออกเฉ ี ยงเหนื อ พบว่า มี มูลค่าผลผลิ ตรวมทั ้ งสิ ้ นปร ะมาณ 1,138,889.6 ล้ านบาท ค่าใช้ จ่ายขั้นกลางประมาณ 778,740.2 ล้ านบาท และ มูลค่าเพิ่มประมาณ 360,149.4 ล้านบาท โดยมีสัดส่วนของมูลค่าเพิ่ มต่อมูลค่า ผลผลิตประมาณร้อยละ 31.6 หากพิจารณาตามขนาดของสถานประกอบการ พบว่า สถานประกอบการที่ มีคนทำงานมากกว่า 200 คน มีมูลค่าผลผลิต ค่าใช้จ่ายขั้นกลาง และมูลค่าเพิ่ ม ในสัดส่วนสูงที่สุด คือ ร้อยละ 59.2 58.0 และ 62.0 ตามลำดับ ในขณะที่สัดส่วน ของมูลค่าเพิ่มต่อมูลค่าผลผลิตสูงที่สุดนั้นมาจากสถานประกอบการที่มี คนทำงาน 1 – 5 คน ประมาณร้อยละ 33.6 เมื่ อพิ จารณาตามหมวดย่อยอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ พบว่า มูลค่า ผลผลิ ต ค่าใช้ จ่ายขั ้ นกลาง และมูลค่าเพิ่ มของสถานประกอบการ มาจาก อุตสาหกรรม การผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร ประมาณร้อยละ 36.9 37.2 และ 36.5 ตามลำดับ รองลงมามาจากอุตสาหกรรม การผลิ ตผลิ ตภัณฑ์คอมพิ วเตอร์ อิ เล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์ที่ ใช้ ในทางทัศนศาสตร์ มี สัดส่วนของมูลค่าผลผลิ ต ค่าใช้ จ่ายขั ้ นกลาง และมูลค่าเพิ่ ม ประมาณร ้ อยละ 19.1 19.0 และ 19.3 ตามลำดับ นอกจากนี ้ อุตสาหกรรมการผลิ ตอื่ น ๆ ในแต่ละหมวดย่อยมี มูลค่า ผลผลิต ค่าใช้จ่ายขั้นกลาง และมูลค่าเพิ่ม ในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 11.0 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบมูลค่าเพิ่มต่อมูลค่าผลผลิตในแต่ละหมวดย่อย อุตสาหกรรม พบว่า สถานประกอบการที่ ประกอบอุตสาหกรรม กิ จกรรมการ บำบัดและบริการจัดการของเสียอื่น ๆ มีสัดส่วนของมูลค่าเพิ่มต่อมูลค่าผลผลิตสูง กว่าอุตสาหกรรมการผลิตหมวดย่อยอื่น ๆ คือร้อยละ 55.3 ในขณะที่อุตสาหกรรม การผลิตอุปกรณ์ขนส่งอื่น ๆ มีสัดส่วนของมูลค่าเพิ่มต่อมูลค่าผลผลิตต่ำที่สุด คือ ร้อยละ 10.7 (ตาราง ค)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==