สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 อุตสาหกรรมการผลิต: ภาคใต้

สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 (อุตสาหกรรมการผลิต: ภาคใต้) 16 National Statistical Office เมื่ อจำแนกลูกจ้ างตามหมวดย่อยอุตสาหกรรม พบว่า ร้ อยละ 32.1 ทำงานในอุ ตสาหกรรม การผล ิ ตผล ิ ตภัณฑ์ อาหาร รองลงมาปฏ ิ บั ต ิ งาน ในอุตสาหกรรม การผลิ ตผลิ ตภัณฑ์ยางและพลาสติ ก และ การผลิ ตไม้ และ ผลิ ตภัณฑ์จากไม้ และไม้ ก๊อก (ยกเว้ นเฟอร์นิ เจอร์) การผลิ ตสิ่ งของจากฟาง และวัสดุถักสานอื่น ๆ ประมาณร้อยละ 24.3 และ 16.0 ตามลำดับ และที่ ปฏิบัติงาน อยู่ ในอุตสาหกรรมการผลิ ตหมวดย่อยอื่ น ๆ นอกเหนื อจากที่ กล่าวข ้ างต้ น แต่ละหมวดย่อย มีสัดส่วนของลูกจ้างไม่เกินร้อยละ 7.0 (ตาราง ข) 3) ค่าตอบแทนแรงงาน ลูกจ้ างปฏิ บัติ งานอยู่ในสถานประกอบการอุตสาหกรรมการผลิ ตที่ ตั้ งอยู่ ในภาคใต้ ได้ รับค่าตอบแทนแรงงานรวมทั ้ งสิ ้ นประมาณ 38,744.4 ล้ านบาท หรือเฉลี่ ยต่อคนต่อปีประมาณ 146,846 . 7 บาท โดยลูกจ้างในสถานประกอบการ ที่มีคนทำงานมากกว่า 200 คน ได้รับค่าตอบแทนแรงงานเฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงที่สุด ประมาณ 183,917.8 บาท ในขณะที่ ลูกจ้างที่ ปฏิบัติงานในสถานประกอบการที่มี คนทำงาน 1 – 5 คน ได้ รับค่าตอบแทนเฉลี่ยต่อคนต่อปีต่ำที่สุด 92,625.9 บาท เมื่ อพิ จารณาตามหมวดย่อยอุตสาหกรรม พบว่า ลูกจ้ างในอุตสาหกรรม การผลิ ตยานยนต์ รถพ่วง และรถกึ่ งพ่วง ได้ รับค่าตอบแทนแรงงานเฉลี่ ยต่อคน ต่อปีสูงที่สุด คือ ประมาณ 266,458.8 บาท รองลงมา ได้แก่ ลูกจ้างในอุตสาหกรรม การผลิ ตโลหะขั ้ นมูลฐาน และ การจัดพิ มพ์จำหน่ายหร ื อเผยแพร่ ประมาณ 203,107.8 บาท และ 191,908.3 บาท ในขณะที่ ลูกจ้างในอุตสาหกรรม การผลิต เภสัชภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ที่ใช้รักษาโรค และผลิตภัณฑ์จากพืชและสัตว์ที่ ใช้รักษาโรค ได้ รับค่าตอบแทนแรงงานเฉลี่ ยต่อคนต่อปี ต่ำที่ สุด ประมาณ 43,890.5 บาท (ตาราง ข)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==