สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 อุตสาหกรรมการผลิต: ภาคใต้

25 บทที่ 3 ผลการสำมะโน Business and Industrial Census ในขณะเดี ยวกันสถานประกอบการมากกว่าร้ อยละ 50.0 รายงานว่าทั้ งปี 2564 และ ปี 2565 ไม่ได้รับผลกระทบในด้านการเลิกจ้างพนักงาน และการชะลอ การจ้างพนักงานใหม่ (ตาราง ฉ) แผนภาพที่ 1 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามแนวทางการแก้ไขปัญหาที่สถานประกอบการ ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้ อไวรัสโควิด-19 3 .4.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 เมื่อพิจารณาถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ การแพร่ ระบาดของโรคต ิ ดเช ื ้ อไวรั สโคว ิ ด-19 พบว่ า สถานประกอบการ อุตสาหกรรมการผลิ ตในภาคใต้ ส่วนใหญ่ ร้ อยละ 67.9 แก้ ปัญหาโดยการหยุด กิ จการชั่ วคราวหร ื อเปิ ดกิ จการเพี ยงบางส่วน รองลงมาเป็นปรับรู ปแบบ การจ้างแรงงาน เช่น ลดชั่วโมงการทำงานร้อยละ 30.2 สำหรับแนวทางการแก้ไข ปัญหาอื่น ๆ มีสถานประกอบการนำมาปรับใช้ ไม่เกิ นร้อยละ 7.0 ไม่ได้รับผลกระทบ ได้รับผลกระทบ 29.3% 70 . 7 % 67.9% หยุดกิจการชั่วคราว/เปิดดำเนินกิจการบางส่วน ปรับรูปแบบการจ้างแรงงาน เช่น ลดชั่วโมงการทำงาน เป็น ต้น เปลี่ ยนไปผลิตสินค้าอื่น/ลงทุนในรูปแบบธุรกิจใหม่ๆ ปรับเปลี่ ยนรูปแบบการทำงาน เช่น การทำงานทางไกล ปรับเปลี่ ยนกระบวนการผลิ ตโดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ย้ายฐานการผลิตไปต่างประเทศ สามารถตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ 30.2% 6.7% 3.9% 2.7% 0.1%

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==