สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 อุตสาหกรรมการผลิต: ภาคใต้

สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 (อุตสาหกรรมการผลิต: ภาคใต้) 26 National Statistical Office แผนภาพที่ 2 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามการฟื้นตัวและอุปสรรคที่ทำให้ ไม่สามารถฟื้นตัว โดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิ ดสถานการณ์ โรคติดเชื้ อไวรัสโควิด-19) 3 .4.3 การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปี ก่อนเกิดสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19) เมื่ อเปรี ยบเที ยบสัดส่วนรายรับของสถานประกอบการอุตสาหกรรม การผลิ ตในภาคใต้ ในปี 2565 กั บ ปี 2562 พบว่ า สถานประกอบการ ร้ อยละ 47.1 รายรับยังคงหดตัวถึ งหดตัวมาก โดยอุปสรรคที่ ทำให้ สถาน- ประกอบการส่วนใหญ่ไม่สามารถฟื ้นตัวได้ เช่น กำลังซื ้อจากผู้บริ โภคยังคงอ่อนแอ พฤติ กรรมของผู้ บริ โภคเปลี่ ยนแปลง รวมถึ งมาตรการต่าง ๆ ของทางภาครัฐ และการขนส่งหรือการเดิ นทางยังไม่กลับสู่ภาวะปกติ เป็นต้น ขยายตัวได้ดี ( >110 %) เริ่มฟื้นหรือขยายตัวบ้างแล้ว (100-110%) อยู่ในระดับทรงตัว (90-100%) ยังคงหดตัว (80-90%) ยังคงหดตัวมาก ( <80 %) 1 . 0 % 12 . 4 % 39 . 5 % 21 . 3 % 25 . 8 % 92 . 0 % กำลังซื้อยังคงอ่อนแอ 7 . 6 % การขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ระดับปกติ 6 . 4 % ลูกค้า/ผู้ค้ายังคงปิดโรงงาน 3 . 1 % ขาดแคลนแรงงาน 0 . 9 % ลูกค้ามีการสั่งซื้อจากประเทศอื่น ๆ บ้าง 0 . 5 % ลูกค้าย้ายคำสั่งซื้ อไปประเทศอื่นถาวร 33 . 8 % พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง 12 . 5 % มาตรการภาครัฐ สามารถตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==