สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ: จังหวัดตรัง

ปรับเปลี่ยน กระบวนการขาย/ให้บริการ โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ 6. 3% ปรับตัว ไปทำธุรกิจแบบอื่น 2.8 % ปรับเปลี่ยนรูปแบบ การทำงาน 1.0% ปรับรูปแบบ การจ้างแรงงาน/พนักงาน 14. 3% หยุดกิจการชั่วคราว/ เปิดดำเนินกิจการบางส่วน 61.7 % 3.3. 3 การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โควิด 19) จากการเก็บรวบรวมข้อมูลสถานประกอบการ จำแนกตามการฟื้นตัวของสถานประกอบการโดย เปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 ส่วนใหญ่ธุรกิจยังคงอยู่ในระดับทรงตัว คิดเป็น ร้อยละ 46.9 รองลงมา คือ ธุรกิจยังคงหดตัว และหดตัวมาก คิดเป็นร้อยละ 43.0 สำหรับ การเริ่มฟื้นตัวหรือ ขยายตัวบ้างแล้วและขยายตัวได้ดี คิดเป็นร้อยละ 9.9 และ 0.2 ตามลำดับ จากภาพที่ 2 จำแนกตามอุปสรรคที่ทำให้ธุรกิจยังคงหดตัว พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 88.6 พบว่ากำลัง ซื้อยังคงอ่อนแอ รองลงมา คือ พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง คิดเป็นร้อยละ 76.3 ถัดไปคือ มา ตรการ ภาครัฐ คิดเป็นร้อยละ 13.0 สำหรับการขนส่ง/การเดินทางยังไม่กลับสู่ระดับปกติ คิดเป็นร้อยละ 3.8 ขาดแคลนแรงงาน และ ลูกค้ามีการสั่งซื้อจากประเทศอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 0.8 และ 0. 2 ตามลำดับ แนวทางการแก้ไข ไม่ได้รับ 15.9 % ได้รับ 84.1 % ภาพที่ 1 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามแนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับ ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 หมายเหตุ : ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ บทที่ 3 ผลการสำมะโน 39 3.3.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 จากการรวบรวมข้อมูลแนวทางการแก้ไขของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ โควิด 19 พบว่า สถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบ คิดเป็นร้อยละ 84.1 แบ่งตามแนวทางแก้ไข ส่วนใหญ่ ร้อยละ 61.7 คือ หยุดกิจการชั่วคราว/เปิดดำเนินการกิจการบางส่วน รองลงมาคือ การปรับรูปแบบการจ้าง แรงงาน/พนักงาน คิดเป็นร้อยละ 14. 3 การปรับเปลี่ยนกระบวนการขาย/ให้บริการโดยการนำเทคโนโลยี เข้ามาใช้ คิดเป็นร้อยละ 6. 3 สำหรับแนวทางการปรับตัวใปทำธุรกิจแบบอื่นและปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน คิดเป็นร้อยละ 2.8 และ 1.0 ตามลำดับ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==