สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 ธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ: จังหวัดตราด

ปรับเปลี่ยน กระบวนการขาย/ให้บริการ โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ 10.7% อื่น ๆ เช่น ปรับตัว ไปทำธุรกิจแบบอื่น 17.1% ปรับเปลี่ยนรูปแบบ การทำงาน 6.5% ปรับรูปแบบ การจ้างแรงงาน/พนักงาน 11.4% หยุดกิจการชั่วคราว/ เปิดดำเนินกิจการบางส่วน 40.4% 3.3.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 สถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 มีร้อยละ 77.6 เมื่อจำแนก ตามแนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการ พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 40.4 หยุดกิจการชั่วคราว/เปิด ดำเนินกิจการบางส่วน รองลงมาได้แก่ ปรับรูปแบบการจ้างแรงงาน/พนักงาน ร้อยละ 11.4 ปรับเปลี่ยน กระบวนการขาย/ให้บริการโดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ 10.7 ปรับเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน ร้อยละ 6.5 และแก้ไขปัญหาในรูปแบบอื่น ๆ เช่น ปรับตัวไปทำธุรกิจแบบอื่น ร้อยละ 1 7 . 1 ภาพที่ 1 ร้อยละของสถานประกอบการจำแนกตามแนวทางการแก้ไขปัญหาของสถานประกอบการที่ได้รับ ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 3.3. 3 การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 (ปีก่อนเกิดสถานการณ์โควิด 19) การฟื้นตัวของสถานประกอบการโดยเปรียบเทียบสัดส่วนรายรับในปี 2565 กับรายรับในปี 2562 พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 72 . 2 ยังคงหดตัวถึงหดตัวมาก โดยอุปสรรคที่ทำให้ไม่สามารถฟื้นตัวของสถาน ประกอบการ 3 ลำดับแรก ได้แก่ กำลังซื้อยังคงอ่อนแอ (ร้อยละ 91.8) พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ 38.6) และมาตรการภาครัฐ (ร้อยละ 23.6) แนวทางการแก้ไข ไม่ได้รับ 22.4% ได้รับ 77.6%

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==