Core Economic and Social Indicators of Thailand 2011

ข . ขีดความสามารถในการแข งขัน ี ด  งั น (Competitiveness) ประเทศไทยเป นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบเป ด จึงต องมีการแข งขัน กับประเทศต างๆ ในเวทีโลก ที่ผ านมาประเทศไทยเคยมีความได เปรียบหลายด าน เช น ค าจ างแรงงานต่ํา การได รับสิทธิพิเศษทางภาษี เป นต น ซึ่งในป จจุบันความได เปรียบ เหล าหนี้ได ลดน อยลง ป จจัยเหล านี้ล วนมีผลต อความสามารถในการแข งขันของ ประเทศ เพื่อเป นการติดตามและประเมินศักยภาพความสามารถในการแข งขันของ ประเทศต าง ๆ สถาบันจัดการเพื่อการพัฒนา ( International Institute for Management Development : IMD ) จึงมีการจัดอันดับความสามารถในการแข งขันขึ้น ซึ่งมุ งเน น การวัดความสามารถในการสร างสภาพแวดล อมต อการแข งขัน 4 กลุ ม ประกอบด วย ศักยภาพทางเศรษฐกิจ ( Economic Performance ) ประสิทธิภาพของภาครัฐ ( Government Efficiency ) ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ ( Business Efficiency ) และ โครงสร างพื้นฐาน ( Infrastructure ) ซึ่งในแต ละกลุ มจะประกอบด วยรายละเอียด ในด านต างๆ ที่เกี่ยวข อง แม ว าความสามารถในการแข งขันของประเทศจะปรับระดับเพิ่มขึ้นเมื่อ เปรียบเทียบกับประเทศคู แข งหลายๆ ประเทศ แต ป จจัยความได เปรียบที่เพิ่มขึ้นเป น ป จจัยที่ไม ยั่งยืน ประเทศไทยจึงควรรักษาศักยภาพในการแข งขันของประเทศไม ให เปลี่ยนแปลงมากนัก ข อมูลตัวชี้วัดที่แสดงขีดความสามารถในการแข งขันจึงมี ความสําคัญอย างยิ่งต อหน วยงานภาครัฐ และหน วยงานที่เกี่ยวข องในการนําไปใช วิเคราะห สถานการณ และแนวโน มด านต างๆ เพื่อจะได ปรับตัวให ทันต อการ เปลี่ยนแปลงของสถานการณ โลก เช น การเพิ่มสมรรถนะและประสิทธิภาพการผลิต การส งออกและการลงทุน การลงทุนโครงสร างพื้นฐานทั้งในด านสาธารณูปโภค และเทคโนโลยี เป นต น ข อมูลตัวชี้วัดขีดความสามารถในการแข งขันในรายงานนี้ มีดังนี้ • วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี • เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==