Core Economic and Social Indicators of Thailand 2011

ง . แรงงาน (Labor Force) สํานักงานสถิติแห งชาติได สํารวจข อมูลภาวะการทํางานอย างต อเนื่องทุกป เริ่มตั้งแต ป 2506 และจากวิกฤตทางเศรษฐกิจกลางป 2540 ทําให ความต องการใช ข อมูลเพื่อการวางแผนเพิ่มมากขึ้นและเร งด วนขึ้น ดังนั้นตั้งแต ป 2544 เป นต น มา สํานักงานสถิติแห งชาติจึงได ดําเนินการสํารวจภาวะการทํางานเป นรายเดือน รายงานฉบับนี้ได เสนอข อมูลไตรมาสที่ 1 ( เดือนมกราคม กุมภาพันธ และมีนาคม ) ซึ่งเป นนอกฤดูกาลเกษตรกรรมถือเป นช วงที่กําลังแรงงานมีส วนร วม ในการผลิตน อยกว าไตรมาสอื่น เพราะมีกําลังแรงงานส วนหนึ่งรอการทําเกษตรกรรม และไตรมาสที่ 3 ( เดือนกรกฎาคม สิงหาคม และกันยายน ) ซึ่งเป นช วงฤดูกาล เกษตรกรรมและมีกําลังแรงงานในการทํางานสูงสุดที่สามารถสะท อนถึงภาพ ภาวะการทํางานได อย างสมบูรณ มากที่สุด ซึ่งทําให เห็นภาพภาวะการทํางาน ของประชากรไทยทั้งในฤดูกาลเกษตรกรรม และนอกฤดูกาลเกษตรกรรม แรงงาน ประกอบด วยข อมูลตัวชี้วัดแรงงานในเรื่องต างๆ ดังนี้ # กําลังแรงงาน # การพัฒนาขีดความสามารถ # แรงงานในระบบและนอกระบบ # จํานวนป การศึกษาเฉลี่ยของผู มีงานทํา # ผู มีงานทํา # การว างงาน # ค าจ าง

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==