Core Economic and Social Indicators of Thailand 2011

ก . เศรษฐกิจจมหภาคิ (Macro Economics) เศรษฐกิจมหภาค เป นองค รวมของข อมูลตัวชี้วัดด านเศรษฐกิจที่มีความ เชื่อมโยงสัมพันธ กัน โดยจะแสดงให เห็นสถานการณ และแนวโน มทางเศรษฐกิจ ในทุกด านว ามีการเปลี่ยนแปลงอย างไร ข อมูลตัวชี้วัดเศรษฐกิจมหภาคเป นข อมูลสําคัญ สําหรับหน วยงานที่เกี่ยวข อง ทั้งภาครัฐและเอกชน สามารถใช ในการกําหนดนโยบาย วางแผนงานและติดตามงานในด านต างๆ แม ว าเศรษฐกิจไทยในป 2553 จะเผชิญกับป จจัยในทางลบต างๆ อาทิเช น ป ญหา การเมือง ภัยธรรมชาติที่รุนแรงทั่วทุกภาค ราคาน้ํามันที่เพิ่มสูงขึ้น รวมถึงความผันผวนของ เศรษฐกิจโลก แต การเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ มวลรวมในประเทศยังคงขยายตัวสูงขึ้น ทั้งนี้ สืบเนื่องมาจากป จจัยทางบวกที่สําคัญ ได แก ปริมาณการส งออกที่เพิ่มขึ้น การท องเที่ยวขยับตัว ดีขึ้นหลังจากเกิดอุทกภัย และราคาสินค าเกษตรพุ งสูงขึ้น ประกอบกับช วงปลายป เศรษฐกิจโลก เริ่มฟ นตัวดีขึ้น ซึ่งป จจัยดังกล าว จะเป นภาพสะท อนให เห็นถึงศักยภาพทางเศรษฐกิจของ ประเทศได เป นอย างดี ดังนั้นข อมูลตัวชี้วัดเศรษฐกิจมหภาค จึงมีความสําคัญสําหรับ ภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน เพื่อจะได เตรียมตัวให พร อมรับสถานการณ ต างๆ ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ข อมูลตัวชี้วัดเศรษฐกิจมหภาคประกอบด วย • บัญชีประชาชาติ • ดุลการชําระเงิน • การคลังรัฐบาล • การเงิน – การธนาคาร • การค าระหว างประเทศ • ดัชนีราคา • อุตสาหกรรม เกษตรและการบริการ • รายได รายจ าย และหนี้สินของครัวเรือน • การก อสร าง • สิ่งแวดล อม • พลังงาน

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==