ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 64 ตาราง 3.12 ตารางเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการตกเป็นครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร และปัจจัย ที่มีผลต่อการตกเป็นครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร ปัจจัจัยัย ครัววืเรืออนั ยากจนแฝงด้านอาหาร ้ า (ประเภทที่ 2)ี่ ครัววืเรืออนั ยากจนแฝงด้าาี่นที่ไไ่่ม่ใช่้ อาหาร (ประเภทที่ 3)ี่ การศึกกษาึ ระดับการศึกษาสูงสุด (1.750) (1.347) การเข้าเรียน (2.695) ในส่วนต่อไปนี้ จะทำ �การเปรียบเทียบปัจจัยระหว่าง 2 แบบจำ �ลองดังกล่าว ซึ่งพบว่า มีเพียงปัจจัยเดียว ที่ให้ผลในทางตรงข้ามกัน (ตารางที่ 3.12) คือ การไม่มีตู้เย็น โดยครัวเรือนที่ไม่มีตู้เย็นจะมีโอกาสเป็นครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) เพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานเบื้องต้นของครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) ที่มีความจำ �เป็นต้องใช้จ่ายเงินไปกับค่าอาหารก่อน จึงมีโอกาสน้อยลง ที่จะใช้จ่ายเงินเพื่อเป็นเจ้าของสินทรัพย์ ในทางกลับกัน ครัวเรือนที่ไม่มีตู้เย็น จะมีโอกาสเป็นครัวเรือนยากจนแฝง ด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) ลดลง นั่นคือ การเป็นเจ้าของตู้เย็น ทำ �ให้มีโอกาสเป็น ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) เพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานเบื้องต้น ของครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) ที่มีความจำ �เป็นต้องใช้จ่ายเงินกับ สิ่งที่ไม่ใช่อาหารก่อน แล้วจึงนำ �เงินที่เหลือจากค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่อาหารซี่งมีปริมาณน้อย ไปใช้จ่ายกับอาหาร ประกอบกับตู้เย็นสามารถช่วยในเรื่องของการถนอมอาหาร ไม่ว่าจะเป็น อาหารสด อาหารแช่แข็ง วัตถุดิบสำ �หรับประกอบอาหาร ซึ่งอาจทำ �ให้ค่าใช้จ่าย ด้านอาหารของครัวเรือนลดลง เมื่อเทียบกับครัวเรือนที่ไม่มีตู้เย็น หมายถึง มีค่าสัมประสิทธิ์โลจิสติกส์มากกว่า 0 (...) หมายถึง กรณี จำ �นวนเท่าของโอกาสที่เพิ่มขึ้น กรณี ร้อยละของโอกาสที่ลดลง หมายเหตุ:

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==