ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565
ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 70 ทั้งนี้ เมื่อนำ �ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเวชภัณฑ์และค่ารักษาพยาบาล ไปเป็นค่าใช้จ่าย ด้านอาหารตามการจำ �ลองสถานการณ์ข้างต้นแล้ว ครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) อาจยังคงสถานะเดิมคือเป็นครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) หรืออาจขยับไปเป็นครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) ได้ ส่วนครัวเรือน ยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) อาจยังคงสถานะเดิมคือ เป็นครัวเรือนยากจนแฝง ด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) หรืออาจขยับไปเป็นครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) ได้ ตาราง 4.1 ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ย ตามการจำ �ลองสถานการณ์ H50 และ H100 พ.ศ. 2565 ครัวเรือนทั้งสิ้นั วื อั้ งิ้ น (จำ �แนกตามประเภทครัวเรือน) ำ �ั วื อ ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ย (บาท/เดือน/ครัวเรือน)่ า้ จ่า้ าี่ ยื อั วื อ สถานการณ์เเิดิม์ม การจำ �ลองสถานการณ์ ำ �์ สถานการณ์ H50์ สถานการณ์ H100์ ครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) 4,056 4,082 (+26) 4,107 (+51) ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) 4,669 4,767 (+98) 4,864 (+195) จากตารางที่ 4.1 เมื่อทำ �การจำ �ลองสถานการณ์หากครัวเรือนได้รับการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเวชภัณฑ์และค่ารักษาพยาบาล ตามสถานการณ์ H50 และ H100 พบว่า ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยของครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) เพิ่มขึ้น ประมาณ 26 บาท สำ �หรับสถานการณ์ H50 (ภาครัฐช่วยสนับสนุนครึ่งหนึ่ง) และเพิ่มขึ้น ประมาณ 51 บาท สำ �หรับสถานการณ์ H100 (ภาครัฐช่วยสนับสนุนทั้งหมด) ส่วนค่าใช้จ่าย ด้านอาหารเฉลี่ยของครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) เพิ่มขึ้นมากกว่าครัวเรือน ยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) เกือบ 4 เท่า กล่าวคือ ประมาณ 98 บาท สำ �หรับ สถานการณ์ H50 และเพิ่มขึ้นประมาณ 195 บาท สำ �หรับสถานการณ์ H100
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==