ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 72 ตาราง 4.2 จำ �นวนและร้อยละของครัวเรือน 4 ประเภท ตามการจำ �ลองสถานการณ์ H50 และ H100 พ.ศ. 2565 ประเภทครัววืเรืออนั สถานการณ์เเิดิม์ม การจำ �ลองสถานการณ์ ำ �์ สถานการณ์ H50์ สถานการณ์ H100์ ครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) 1,109 (2.2) 1,096 (2.2) 1,086 (2.1) ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) 6,294 (12.5) 5,897 (11.7) 5,586 (11.1) ครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่ อาหาร (ประเภทที่ 3) 1,511 (3.0) 1,524 (3.0) 1,534 (3.1) ครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) 41,363 (82.3) 41,760 (83.1) 42,071 (83.7) ภาพรวมของการเปลี่ยนประเภทครัวเรือน ภายหลังการจำ �ลองสถานการณ์ (ตารางที่ 4.1) พบว่า เมื่อภาครัฐสนับสนุนค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเวชภัณฑ์และค่ารักษา พยาบาลครึ่งหนึ่ง (สถานการณ์ H50) จะทำ �ให้มีครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 82.3 เป็นร้อยละ 83.1 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 ซึ่งประมาณคร่าว ๆ ได้ 1.9 แสนครัวเรือน* และเมื่อภาครัฐสนับสนุนค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเวชภัณฑ์และ ค่ารักษาพยาบาลทั้งหมด (สถานการณ์ H100) จะทำ �ให้มีครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 82.3 เป็นร้อยละ 83.7 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.4 ซึ่งประมาณคร่าว ๆ ได้ 3.3 แสนครัวเรือน* หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 2 เท่า เมื่อเทียบกับ สถานการณ์ H50 ในมิติของการขจัดความยากจนแฝงด้านอาหาร ตามวัตถุประสงค์หลักของการ จำ �ลองสถานการณ์ พบว่า จากเดิมมีครัวเรือนที่ประสบกับสถานการณ์ความยากจนแฝง ด้านอาหาร ซึ่งคือ ครัวเรือนประเภทที่ 1 และ 2 รวมกัน อยู่ที่ร้อยละ 14.7 ของครัวเรือน ตัวอย่างทั้งสิ้น แต่เมื่อทำ �การจำ �ลองสถานการณ์ ทำ �ให้มีครัวเรือนครัวเรือนประเภทที่ 1 และ 2 รวมกัน ลดลงเป็นร้อยละ 13.9 และร้อยละ 13.2 ของครัวเรือนตัวอย่างทั้งสิ้น สำ �หรับสถานการณ์ H50 และ H100 ตามลำ �ดับ * คำ �นวณจากจำ �นวนครัวเรือนทั้งประเทศ 23,577,782 ครัวเรือน ซึ่งอ้างอิงมาจากค่าคาดประมาณจำ �นวนครัวเรือน ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2565

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==