ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 76 การจำ �ลองสถานการณ์ (Scenario) เกี่ยวกับการได้รับสวัสดิการด้านสาธารณสุข เพิ่มเติม โดยเน้นไปที่ผลกระทบทางด้านอาหารต่อครัวเรือน (ผลกระทบต่อค่าใช้จ่าย ด้านอาหารของครัวเรือน) โดยจำ �ลองการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเวชภัณฑ์และ ค่ารักษาพยาบาลไปเป็นค่าใช้จ่ายด้านอาหารของครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) และครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) พบว่า เมื่อครัวเรือน ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเวชภัณฑ์และค่ารักษาพยาบาลเพิ่มเติมครึ่งหนึ่ง หรือร้อยละ 50 จะทำ �ให้มีครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 82.3 เป็นร้อยละ 83.1 ของจำ �นวนตัวอย่างทั้งสิ้น และหากครัวเรือนได้รับการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าเวชภัณฑ์และค่ารักษาพยาบาลทั้งหมด จะทำ �ให้มีครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 82.3 เป็นร้อยละ 83.7 ของจำ �นวนตัวอย่างทั้งสิ้น การจำ �ลองสถานการณ์ (Scenario) ำ �์ 5.2 ข้อเสนอแนะเชิงโยบาย (Policy Recommendations)้ อิ ง แม้ว่าในปี 2565 จะมีครัวเรือนยากจนของประเทศอยู่ที่ประมาณร้อยละ 5.4 แต่เมื่อพิจารณาถึงความยากจนแฝง พบว่า ครัวเรือนไม่ยากจนแต่ยากจนแฝงด้านอาหาร และครัวเรือนไม่ยากจนแต่ยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร มีสัดส่วนรวมกันสูงถึงร้อยละ 12.3 ซึ่งเป็นครัวเรือนที่ภาครัฐควรหามาตรการหรือนโยบายที่เหมาะสมในการให้ ความช่วยเหลือเพื่อขจัดความยากจนแฝง 1 ข้อเสนอแนะที่ 1้ อี่

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==