ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565
ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 84 5 6 7 ค่าใช้จ่ายด้านอาหาร (Food Expenditure: FE)่ า้ จ่า้ า ค่าใช้จ่ายด้านที่ไม่ใช่อาหาร (Non-Food Expenditure: NFE) ่ า้ จ่า้ าี่ ไ่่ อ เส้นความยากจน (Poverty Line: PL) ้ น ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายหมวดอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ และหมวด เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายหมวดที่อยู่อาศัย หมวดเครื่องแต่งบ้าน เครื่องใช้เบ็ดเตล็ด และการดำ �เนินการในครัวเรือน หมวดค่าจ้างบุคคลที่ให้บริการแก่ครัวเรือน หมวดผ้า เสื้อผ้า และเครื่องแต่งกาย หมวดรองเท้า หมวดของใช้/บริการส่วนบุคคล หมวดเวชภัณฑ์และ ค่ารักษาพยาบาล หมวดการเดินทางและการสื่อสาร หมวดการศึกษา หมวดการบันเทิง การอ่าน และกิจกรรมทางศาสนา หมวดการจัดงานพิธีในโอกาสพิเศษ และหมวดยาสูบ เป็นเกณฑ์ที่กำ �หนดขึ้นเพื่อใช้แจกแจงคนจนและคนไม่จน โดยเส้นความยากจนนี้ คำ �นวณขึ้นมาเป็นตัวเงินที่สะท้อนต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายของบุคคลในการได้มาซึ่งอาหารและ สินค้าอุปโภคที่จำ �เป็นพื้นฐานขั้นต่ำ �ของการดำ �รงชีพ เส้นความยากจน (Poverty Line) ประกอบด้วย เส้นความยากจนด้านอาหาร (Food Poverty Line: FPL) และ เส้นความยากจนด้านที่ไม่ใช่อาหาร (Non-Food Poverty Line: NFPL) รวมกัน หรือ มีหน่วยเป็นบาท/คน/เดือน และเมื่อรวมเส้นความยากจนของสมาชิกทุกคน ในครัวเรือนใดครัวเรือนหนึ่ง ก็จะได้เส้นความยากจนของครัวเรือนนั้น มีหน่วยเป็นบาท/ ครัวเรือน/เดือน PL = FPL + NFPL ทั้งนี้ แนวคิดเส้นความยากจนด้านอาหารกำ �หนดขึ้นจากความต้องการสารอาหาร แคลอรีและโปรตีนของคนที่แตกต่างกันตามเพศและอายุ รวมทั้งแบบแผนการบริโภค และ ค่าครองชีพที่แตกต่างกันตามภูมิภาคและพื้นที่ แต่ได้รับความพึงพอใจหรืออรรถประโยชน์ (Utility) เท่ากัน รายละเอียดดูได้จากภาคผนวก 2 การจัดทำ �เส้นความยากจน (Poverty Line)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==