ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 88 1 ที่มา: สำ �นักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและเหลื่อมล้ำ � ของประเทศไทย ปี 2562, หน้าที่ 124 – 132 การจัดทำ �เส้นความยากจน (Poverty Line) 1 การศึกษาวิเคราะห์ในประเด็นเรื่องความยากจนในประเทศไทย เริ่มได้รับความสนใจ ในวงวิชาการตั้งแต่ปี 2517 เป็นต้นมา โดยงานศึกษาที่ได้รับการกล่าวถึงและเป็นที่ยอมรับกัน โดยทั่วไป คืองานศึกษาของเอื้อย มีสุข ที่ทำ �ร่วมกับธนาคารโลก โดยเป็นจุดเริ่มต้นสำ �คัญ ของการพัฒนาตัวชี้วัดความยากจน และเป็นเครื่องมือในการหาขนาดของความคนจนอย่าง เป็นรูปธรรม แม้ว่าในระยะหลังวิธีการศึกษาดังกล่าวจะได้รับคำ �วิจารณ์ว่ายังมีข้อบกพร่อง อยู่หลายจุด แต่การพัฒนาตัวชี้วัดในระยะต่อมาก็ยังคงยึดหลักการและแนวคิดของ ธนาคารโลกเป็นสำ �คัญ โดยเฉพาะประเด็นการมีรายได้ที่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายในการบริโภค อาหารที่จำ �เป็นต่อการมีชีวิตรอด ต่อมาผู้เสนอแนวคิดในการคำ �นวณเส้นความยากจนใหม่ คือ ศ.ดร.เมธี ครองแก้ว และ Prof. Nanak Kakwani ร่วมกับสำ �นักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จึงได้พัฒนาการคำ �นวณเส้นความยากจนใหม่ ด้วยการเพิ่มเติมเทคนิคการคำ �นวณที่ละเอียดรอบคอบมากขึ้น จึงกระทั่งในปี 2545 สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ร่วมกับสำ �นักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ภายใต้การให้คำ �ปรึกษาของ Prof. Nanak Kakwani จึงได้มีการปรับปรุงแนวคิดในการคำ �นวณเส้นความยากจนแนวใหม่ โดยเป็นการคำ �นวณ เส้นความยากจนด้านอาหารและเส้นความยากจนในหมวดที่ไม่ใช่อาหารออกจากกัน อย่างชัดเจน รวมทั้งให้ความสำ �คัญกับการประหยัดจากขนาดของภายในครัวเรือน ซึ่งวิธี การคำ �นวณเส้นความยากจนดังกล่าวจึงถูกนำ �มาใช้อย่างเป็นทางการจนถึงปัจจุบัน 1. แนวคิดและเทคนิควิธีการจัดทำ �เส้นความยากจนใหม่ ิ ดิ คิ ธีกั ด ำ �้ น่ การจัดทำ �เส้นความยากจนเพื่อใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการพิจารณาและจำ �แนก คนที่จนกับคนที่ไม่จนออกจากกันจะอาศัยแนวคิดพื้นฐานจากทฤษฎีอรรถประโยชน์สูงสุด ของผู้บริโภค (Utility Theory) โดยเส้นความยากจนจะสะท้อนมาตรฐานการครองชีพขั้นต่ำ � (minimum standard of living) ของสังคม สมมติให้มาตรฐานการครองชีพขั้นต่ำ �

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==