ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565
ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 90 สมการข้างต้น คือ Marshallian demand functions (Marshall 1930) ถ้าแทนค่า (4) และ (5) ใน (3) จะได้ cost function ( ) , , f n x e u rp np = ............................................... (6) คือ ต้นทุนต่ำ �สุดที่บุคคลใช้เพื่อให้ได้รับอรรถประโยชน์ u แทนสมการ (6) ใน สมการ (4) และ (5) จะได้ Hicksian food and non-food demand equations (Hicks 1957): ( ) , , f f f n q r g u rp np = ............................................... (7) และ ( ) , , n n f n q n g u rp np = ............................................... (8) แทนค่า * u u = ในสมการ (7) และ (8) จะได้เส้นความยากจนด้านอาหารและ เส้นความยากจนในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหาร ( ) * , , f f f f f n F p q r p g u rp np = = ..................................... (9) และ ( ) * , , n n n n f n NF p q n p g u rp np = = .................................. (10) สมการ (9) และ (10) คือ เส้นความยากจนด้านอาหารและเส้นความยากจน ในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหาร ณ จุดที่แต่ละบุคคลได้รับอรรถประโยชน์ที่ระดับ * u ซึ่งแต่ละ บุคคลจะมีเส้นความยากจนที่แตกต่างกัน ขึ้นกับความต้องการแคลอรีและความต้องการ บริโภคสินค้าในหมวดที่ไม่ใช่อาหาร เส้นความยากจนรวม คือ ผลรวมของเส้นความยากจน ด้านอาหารและเส้นความยากจนในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหาร จากสมการ (9) และ (10) ถ้าเรารู้ * u เราสามารถหาเส้นความยากจนด้าน อาหารและเส้นความยากจนในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหารได้ ซึ่งทั้งสองเส้นมีลักษณะ consistent ปัญหาคือเราจะกำ �หนด * u ได้อย่างไร
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==