ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 93 แผนภาพ ผ.2.1 แนวคิดในการคำ �นวณเส้นความยากจนในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหาร 1.2. เส้นความยากจนในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหาร ้ นิ น้ าี่ ไ่่ อ แนวคิดในการคำ �นวณเส้นความยากจนในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหารตามแผนภาพ ด้านล่าง ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอรรถประโยชน์กับค่าใช้จ่ายด้านอาหาร และ ค่าใช้จ่ายรวม โดยเมื่อกำ �หนดเส้นความยากจนด้านอาหาร (จุด C บนเส้นค่าใช้จ่ายด้าน อาหาร) บุคคลจะได้อรรถประโยชน์เท่ากับ * u ที่จุด B อรรถประโยชน์ที่จุดนี้ เราสามารถ คำ �นวณหาค่าใช้จ่ายรวมได้ (จุด D) ซึ่งสะท้อนถึงเส้นความยากจนรวม (BD) ที่มีความคงเส้น คงวาระหว่างเส้นความยากจนด้านอาหาร (BC) และเส้นความยากจนหมวดสินค้าที่ไม่ใช่ อาหาร (CD) ในการนำ �แนวคิดดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ มีขั้นตอนในการคำ �นวณ ดังนี้ (1) คำ �นวณหา food welfare เท่ากับ ค่าใช้จ่ายด้านอาหารต่อหัวของครัวเรือนหาร เส้นความยากจนด้านอาหารคูณ 100 ถ้า food welfare มีค่าเท่ากับ 100 หมายความว่า ค่าใช้จ่ายด้านอาหารต่อหัวของครัวเรือนเท่ากับเส้นความยากจนด้านอาหาร (2) เลือก ครัวเรือนที่มีค่า food welfare อยู่ระหว่าง 90-110 และ (3) หาค่าเฉลี่ยของค่าใช้จ่าย ในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหารของกลุ่มที่มี food welfare อยู่ระหว่าง 90-110 จะได้ เส้นความยากจนในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหาร

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==