ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 94 โดยแบ่งกลุ่มหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหารขั้นพื้นฐาน สามารถจำ �แนกออกเป็น 9 กลุ่ม ดังนี้ (1) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย (2) ค่าใช้จ่ายในครัวเรือน (3) ค่าจ้างบุคคล ที่ให้บริการครัวเรือน (4) ค่าเสื้อผ้า (5) ค่ารองเท้า (6) ค่าใช้จ่ายส่วนบุคคล (7) ค่ารักษาพยาบาล (8) ค่าเดินทางและการสื่อสาร และ (9) ค่าใช้จ่ายการศึกษา 1.3. การประหยัดจากขนาด (Economy of scale) ั ด การอาศัยอยู่ร่วมกันในครัวเรือนจะส่งผลให้ผลของการประหยัดจากขนาดขึ้น โดยค่าใช้จ่ายบางรายการที่สามารถใช้ร่วมกันได้โดยไม่ทำ �ให้เกิดภาระค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นมาก เช่น ค่าแสงสว่าง การอยู่คนเดียวหรืออยู่สองคน อาจมีค่าใช้จ่ายเท่า ๆ กันได้ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม อาจมีค่าใช้จ่ายบางรายการที่ไม่สามารถใช้ร่วมกันได้ เช่น ค่ารักษาพยาบาล เป็นต้น หรือใช้ร่วมกันได้น้อย เช่น ค่าเสื้อผ้าและรองเท้า เป็นต้น แต่ถ้าเราสามารถยอมให้ ค่าใช้จ่ายบางหมวดสามารถใช้ร่วมกันได้ จะทำ �ให้เส้นความยากจนในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่ อาหารจะเป็นผลรวมของ 9 1 n n MNFPL MNFPL = = ∑ เมื่อ n MNFPL คือ ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของสินค้าที่ไม่ใช่อาหารหมวด j โดยที่ j หมายถึง สินค้าหมวด 1 – 9 (ตามที่กล่าวข้างต้น) กำ �หนดขนาดของการประหยัดจากขนาดให้แต่ละ หมวดสินค้า (economy of scale parameter) ( ) 1 n hm n h NFPL k MNFPL HS θ − =   ถ้า n θ เท่ากับ 1 หมายความว่า สินค้าหมวด j เป็นสินค้าที่ไม่สามารถใช้ร่วมกันได้ แต่ถ้า n θ เท่ากับ 0 หมายความว่าสินค้าหมวดดังกล่าวเป็นสินค้าที่ใช้ร่วมกันได้อย่างสมบูรณ์ โดยที่จำ �นวนผู้ใช้ไม่มีผลทำ �ให้ต้นทุนเพิ่มขึ้น ค่า k เป็นค่าคงที่ ดังนั้น ค่าเฉลี่ยของ hm NFPL เท่ากับค่าเฉลี่ยของ jn MNFPL ซึ่งหมายความว่าการยอมให้มีการประหยัดจากขนาด ในแต่ละครัวเรือน ไม่มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่าเฉลี่ยของประชากร

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==