ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 98 ต้นทุนโปรตีน 1 เดือน = โปรตีนเฉลี่ยต่อหัวที่ x 30/100 x protein cost x (ขนาดของครัวเรือน) (0.9-1) การคูณขนาดของครัวเรือน ( θ -1) เป็นการปรับ economy of scale โดยให้ θ = 0.9 หมายถึง การประหยัดจากขนาดของค่าใช้จ่ายด้านอาหาร ซึ่งสมมติว่าเท่ากับ 0.9 มีนัยว่าค่าใช้จ่ายด้านอาหารสามารถแบ่งกันได้ระหว่างสมาชิกในครอบครัว แต่ไม่มากนัก (6) เปรียบเทียบเส้นความยากจนด้านอาหารของครัวเรือนที่คำ �นวณโดยใช้ ความต้องการด้านแคลอรีและโปรตีน (calorie-base and protein-base) และเลือกค่าที่ สูงกว่าสำ �หรับใช้เป็นเส้นความยากจนด้านอาหารของครัวเรือน เส้นความยากจนด้านอาหาร ของแต่ละครัวเรือนที่คำ �นวณได้นี้ แสดงว่าครัวเรือนสามารถได้รับทั้งแคลอรีและโปรตีน ตามปริมาณขั้นต่ำ �ที่ครัวเรือนควรจะได้รับ ( ) max , h h h Fline Ecal Epro = การคำ �นวณเส้นความยากจนในหมวดที่ไม่ใช่อาหาร ำ �้ นี่ ไ่่ อ (non-food poverty line) การคำ �นวณเส้นความยากจนในหมวดสินค้าที่ไม่ใช่อาหารยังคงยึดทฤษฎี เรื่องอรรถประโยชน์ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ (1) คำ �นวณหา Poverty Line food ratio (PL food) ซึ่งเท่ากับ ค่าใช้จ่ายด้าน อาหารต่อหัวของครัวเรือน หาร เส้นความยากจนด้านอาหารคูณ 100 ถ้า PL food มีค่า เท่ากับ 100 หมายความว่า ค่าใช้จ่ายด้านอาหารต่อหัวของครัวเรือนเท่ากับเส้นความยากจน ด้านอาหาร แต่เนื่องจากจำ �นวนครัวเรือนที่จะเป็นตัวแทนดังกล่าวอาจมีจำ �นวนน้อยเกินไป เพื่อให้ได้ตัวแทนที่ดีกว่าจึงใช้วิธีคำ �นวณหาเลือกครัวเรือนที่มีค่า PL food อยู่ระหว่าง 90-110 100 h h h FExp PL food Fline = 

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==