ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565
ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 105 1. ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาตัวแปร อิสระมีสหสัมพันธ์ (Correlation) ระหว่างตัวแปรอิสระด้วยกันในระดับค่อนข้างสูง (Multicollinearity) โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation) โดยมีเกณฑ์คือ จะต้องมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (R) ไม่เกิน 0.65 2. ทดสอบการเลือกตัวแบบ (Model) ที่เหมาะสม พิจารณาจาก Goodness of Fit ของตัวแบบ ได้แก่ - Classification Table แสดงการคำ �นวณค่าความน่าจะเป็นของ การพยากรณ์ของตัวแบบ (Predictive efficiency) ค่าของ Percentage correctly classified สูง แสดงว่าตัวแบบนั้นมีความแม่นยำ �ในการพยากรณ์ - Pseudo R 2 (Cox & Snell R Square, Nagelkerke R Square) คือ ค่าที่บอกสัดส่วนหรือเปอร์เซ็นต์ความแปรปรวนของตัวแปรตามที่สามารถอธิบายได้ ด้วยตัวแปรอิสระ - Maximum Likelihood Estimation (MLE) ใช้ในการประมาณค่า Likelihood Function และนำ �ฟังก์ชันที่ได้มาใช้เปรียบเทียบตัวแบบ โดยการเปรียบเทียบ ด้วยค่า -2 Loglikelihood ถ้าตัวแบบใดที่มีค่าต่ำ �กว่าแสดงถึงความเหมาะสมของตัวแบบ ที่ดีกว่า - Model Chi-square หรือ Likelihood Ratio (LR) Test ใช้ทดสอบ Overall model เพื่อทดสอบโอกาสที่ตัวแปรตามจะขึ้นกับตัวแปรอิสระอย่างน้อย 1 ตัว หรือตัวแปรอิสระอย่างน้อย 1 ตัวมีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม 3. ทดสอบสมมติฐานของค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยโลจิสติก ( β ) โดยใช้สถิติ ทดสอบ Wald statistic ซึ่งทดสอบโอกาสที่ตัวแปรตามจะขึ้นกับตัวแปรอิสระแต่ละตัว หรือตัวแปรอิสระแต่ละตัวมีความสัมพันธ์กับตัวแปรตามหรือไม่ 4. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นครัวเรือนยากจนแฝงกลุ่มที่สนใจ โดยใช้การถดถอยโลจิสติกเชิงพหุแบบทวิภาค (Binary Logistic Regression) ขั้นตอนและการแปลผลการวิเคราะห์ ขั้นตอนการวิเคราะห์ั้ นิ เ์
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==