ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 11 2.2 แนวคิดเส้นความยากจนิ ด้ น เส้นความยากจน เป็นเกณฑ์ที่อยู่บนแนวคิดของการบริโภคปัจจัย 4 ขั้นพื้นฐาน โดยในการคำ �นวณ ได้แบ่งการบริโภคดังกล่าวออกเป็นการบริโภคอาหารให้ได้สารอาหาร ที่เหมาะสมในแต่ละเพศและวัย และการบริโภคสินค้าอื่นที่ไม่ใช่อาหารตามความจำ �เป็น ขั้นพื้นฐาน หรืออาจกล่าวได้ว่า ความต้องการขั้นพื้นฐาน (Basic Need) = อาหารขั้นพื้นฐาน (Basic Food) + สินค้าขั้นพื้นฐานอื่นที่ไม่ใช่อาหาร (Basic Non-food) แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้ในการคำ �นวณเส้นความยากจน มีดังนี้ 1 2 3 ทฤษฎีอรรถประโยชน์สูงสุดของผู้บริโภค (Consumer Theory): คนรวย ที่บริโภคสินค้าราคาแพง จะได้รับความพอใจเท่ากับคนจนที่บริโภค อาหารราคาไม่แพง คำ �นึงถึง “มาตรฐานการครองชีพ” ที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ (Specification): ครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในต่างพื้นที่ และต่างสังคมกัน จะมีมาตรฐานการครองชีพที่แตกต่างกัน กำ �หนดให้มีการประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) ในการบริโภค สินค้าแต่ละประเภท ตามตารางที่ 2.1 โดยการประหยัดต่อขนาด มีค่า ตั้งแต่ 0 ถึง 1 โดยถ้ามีค่าเท่ากับ 0 หมายความว่าสามารถแบ่งกัน บริโภคได้อย่างสมบูรณ์ และหากเท่ากับ 1 หมายความว่าไม่สามารถ แบ่งกันบริโภค ได้เลย

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==