ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565
ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 12 ตาราง 2.1 การประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) สำ �หรับการบริโภคสินค้าแต่ละหมวด ที่มา: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาประเด็นเชิงนโยบาย ด้านความยากจนและการกระจายรายได้ 2556, หน้า 156 ตัวอย่างเช่น ค่าเชื้อเพลิงและแสงสว่าง มีค่าการประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) เท่ากับ 0.2 ซึ่งหมายความว่า ค่าเชื้อเพลิงและแสงสว่างสามารถใช้ร่วมกันได้ โดยไม่ทำ �ให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นมาก การอยู่คนเดียวหรืออยู่สองคน อาจมีค่าใช้จ่ายที่เท่า ๆ กันได้ ในขณะที่ค่าเสื้อผ้าและรองเท้า มีค่าการประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) เท่ากับ 0.9 ซึ่งหมายความว่า ค่าเสื้อผ้าและรองเท้าเป็นค่าใช้จ่ายที่แทบจะไม่ สามารถใช้ ร่วมกันได้ หมวด รายการ Economy of Scale Parameter 1 อาหาร 0.9 2 ค่าเสื้อผ้าและรองเท้า 0.9 3 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย 0.2 4 ค่าเชื้อเพลิงและแสงสว่าง 0.2 5 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดในบ้าน 0.2 6 ค่ารักษาพยาบาล 1.0 7 ค่าใช้จ่ายส่วนบุคคล 1.0 8 ค่าเดินทางและคมนาคม สัดส่วนคนทำ �งานและนักเรียน 9 ค่าใช้จ่ายด้านการสื่อสาร สัดส่วนคนทำ �งานและนักเรียน 10 ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา สัดส่วนนักเรียน นอกจากนี้ ในการคำ �นวณเส้นความยากจนด้านอาหาร ยังอ้างอิงไปถึงข้อมูล ปริมาณสารอาหารขั้นต่ำ � (แคลอรีและโปรตีน) ที่คนไทยควรได้รับต่อวัน กำ �หนดโดย กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งความต้องการสารอาหารของ ครัวเรือนจะแตกต่างกันตามจำ �นวนสมาชิก เพศ และอายุของสมาชิกในแต่ละครัวเรือน รายละเอียดตามตาราง 2.2 และ 2.3
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==