ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 14 2.3 การจำ �แนกประเภทครัวเรือน ำ �ั วื อ ในการจัดทำ �รายงานความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 ฉบับนี้ ได้คำ �นวณ เส้นความยากจนด้านอาหาร (Food Poverty Line: FPL) และเส้นความยากจนด้านที่ ไม่ใช่อาหาร (Non-Food Poverty Line: NFPL) ตามแนวคิดและวิธีการของสำ �นักงาน สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดได้จาก ผนวก 2 การจัดทำ �เส้นความยากจน (Poverty Line) ในการคำ �นวณจำ �นวนหรือสัดส่วนคนจน ตามแนวคิดและวิธีการของสำ �นักงาน สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จะใช้ ค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค (Consumption Expenditure: CE) ซึ่งเป็นผลรวมของค่าใช้จ่ายด้านอาหารกับ ค่าใช้จ่ายด้านที่ไม่ใช่อาหาร มาเปรียบเทียบกับเส้นความยากจน (Poverty Line) ส่วนการ จำ �แนกครัวเรือนออกเป็น 4 ประเภท ตามการวิเคราะห์ในรายงานฉบับนี้ จะใช้ค่าใช้จ่าย ด้านอาหาร (Food Expenditure: FE) และค่าใช้จ่ายด้านที่ไม่ใช่อาหาร (Non-Food Expenditure: NFE) มาเปรียบเทียบกับเส้นความยากจนด้านอาหาร และเส้น ความยากจนด้านที่ไม่ใช่อาหาร ตามลำ �ดับ ซึ่งค่าใช้จ่ายทั้งสองด้าน คำ �นวณมาจากข้อมูล การสำ �รวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1 2 ค่าใช้จ่ายด้านอาหาร (Food Expenditure: FE) ประกอบด้วย ค่าใช้จ่าย หมวดอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ และหมวดเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ ค่าใช้จ่ายด้านที่ไม่ใช่อาหาร (Non-Food Expenditure: NFE) ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายหมวดที่อยู่อาศัย (รวมประเมินค่าเช่าบ้านของตนเอง) หมวดเครื่องแต่งบ้าน เครื่องใช เบ็ดเตล็ด และการดำ �เนินการในครัวเรือน หมวดค่าจ้างบุคคลที่ให  บริการแก  ครัวเรือน หมวดผ้า เสื้อผ  า และเครื่องแต่งกาย หมวดรองเท า หมวดของใช /บริการส วนบุคคล หมวดเวชภัณฑ์และค ารักษาพยาบาล หมวดการเดินทางและการสื่อสาร หมวดการศึกษา หมวดการบันเทิง การอ่าน และกิจกรรมทางศาสนา หมวดการจัดงานพิธีในโอกาสพิเศษ และหมวดยาสูบ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==