ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 28 แผนภูมิ 3.1 ร้อยละของหัวหน้าครัวเรือนที่มีงานทำ �ของครัวเรือนทั้ง 4 ประเภท จำ �แนกตามประเภท อุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 3.1.3 ลักษณะการทำ �งานของหัวหน้าครัวเรือน ั ก ำ �ั ว้ าั วื อ ลักษณะการทำ �งานของหัวหน้าครัวเรือนในตารางที่ 3.3 พบว่า ครัวเรือน ทุกประเภทมีสัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนเป็นผู้มีงานทำ � มากกว่าร้อยละ 70 ของจำ �นวนครัวเรือนตัวอย่างในแต่ละประเภท ยกเว้นครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) ที่มีสัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนเป็นผู้มีงานทำ �เพียง ร้อยละ 68.2 โดยเมื่อพิจารณาสถานภาพการทำ �งานของหัวหน้าครัวเรือนที่เป็นผู้มีงานทำ � พบว่า ครัวเรือนทุกประเภท ส่วนใหญ่เป็นการทำ �ธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มีลูกจ้าง รองลงมาเป็นลูกจ้าง เอกชน ส่วนสถานภาพการทำ �งานที่เป็นลูกจ้างรัฐบาล/รัฐวิสาหกิจ พบว่า ครัวเรือน ไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) มีสัดส่วนของครัวเรือนที่หัวหน้าเป็นลูกจ้างรัฐบาล/รัฐวิสาหกิจ มากที่สุด (ร้อยละ 13.2) มากกว่าสัดส่วนของครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) และครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) ประมาณ 10 เท่า นอกจากนี้ ยังพบว่า ครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) หัวหน้าครัวเรือน ที่มีงานทำ �ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 69.6) ทำ �งานอยู่นอกภาคเกษตรกรรม ป่าไม้ และประมง ซึ่งแตกต่างกับ ครัวเรือนประเภทที่ 1 – 3 ที่ทำ �งานอยู่ในภาคเกษตรกรรม ป่าไม้ และประมงเป็นหลัก 68.5 59.7 52.3 30.4 31.5 40.3 47.7 69.6 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 ครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่1) ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่2) ครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่3) ครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่4) ในภาคเกษตรกรรม ป าไม้ และประมง นอกภาคเกษตรกรรม ป าไม้ และประมง % ประเภท ครัวเรือนยากจนแฝงทั้งสองด้าน (ประเภทที่ 1) ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) ครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) ครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==