ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 52 ในส่วนที่ผ่านมา ได้ทำ �การศึกษาถึงลักษณะทั่วไปของครัวเรือนยากจนแฝง โดยใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) สำ �หรับในส่วนนี้ จะทำ �การศึกษาปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการเป็นครัวเรือนยากจนแฝง 2 กลุ่มที่สนใจ คือ 1. ครัวเรือนยากจนแฝง ด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) และ 2. ครัวเรือนยากจนแฝงด้านที่ไม่ใช่อาหาร (ประเภทที่ 3) โดยปัจจัยหรือตัวแปรที่มาทำ �การศึกษา จะนำ �ตัวชี้วัดและหลักเกณฑ์ความขัดสนของแต่ละ ตัวชี้วัด ของดัชนีวัดความยากจนหลายมิติระดับโลก (Global Multidimensional Poverty Index) ซึ่งพัฒนาโดยโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ร่วมกับโครงการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และแก้ไขความยากจนแห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด (OPHI) มาใช้เป็นกรอบสำ �หรับการพัฒนา โดยจะดำ �เนินการปรับให้สอดคล้องกับบริบทประเทศไทย และรายการข้อถามของโครงการสำ �รวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2565 ทั้งนี้ เมื่อทำ �การปรับบริบทและพัฒนาตัวแปรดังกล่าวแล้ว ได้รายการตัวแปร ของโครงการสำ �รวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2565 ที่ใช้ในการศึกษา จำ �นวน 10 รายการ ซึ่งสามารถจัดหมวดหมู่ ออกเป็น 3 หมวดได้ดังนี้ 1. การศึกษา 2. ความเป็นอยู่ 3. การครอบครองสินทรัพย์ รายละเอียดตามตารางที่ 3.9 3.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นครัวเรือนยากจนแฝงั จั ยี่ มีอิทิ พ่ อ็ นั วื อ รายละเอียดเพิ่มเติมในการปรับตัวแปรสำ �หรับบริบทประเทศไทยสามารถ ศึกษาได้ในภาคผนวก 3 ดัชนีวัดความยากจนหลายมิติระดับโลก (Global Multidimensional Poverty Index) “ “

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==