ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 55 ในส่วนนี้ จะทำ �การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการตกเป็นครัวเรือนยากจนแฝง ด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) โดยใช้ข้อมูลครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) และครัวเรือนไม่ยากจนแฝง (ประเภทที่ 4) รวมกันจำ �นวน 47,657 ครัวเรือนตัวอย่าง มาวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ทวิภาค (Binary Logistic Regression) เมื่อได้ทำ �การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระทั้ง 10 ตัว ซึ่งพบว่า ไม่มีตัวแปรอิสระใดสัมพันธ์กันสูง (ภาคผนวก 4 ขั้นตอนและการแปลผลการวิเคราะห์ ตารางที่ ผ.4.1) จึงได้ทำ �การทดสอบแบบจำ �ลอง ผลที่ได้มีรายละเอียดตามตารางที่ 3.10 ดังนี้ 3.2.1 ครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2)ั วื อ้ าี่ 1 2 3 เมื่อพิจารณาค่า Percentage correctly classified พบว่า แบบจำ �ลอง โลจิสติกส์ที่ได้สามารถจำ �แนกกลุ่มได้ถูกต้อง ร้อยละ 86.8 เมื่อพิจารณาค่า Likelihood Ratio พบว่า ตัวแปรอิสระที่นำ �มาศึกษา อย่างน้อย 1 ตัว มีความสัมพันธ์ต่อการเป็นครัวเรือนยากจนแฝง ด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) อย่างมีนัยสำ �คัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% เมื่อพิจารณาค่า -2 Log likelihood พบว่า ตัวแบบที่มีตัวแปรอิสระ มีค่าน้อยกว่าตัวแบบที่มีเฉพาะค่าคงที่ ดังนั้น ตัวแบบที่มีตัวแปรอิสระ มีความเหมาะสมที่ดีกว่า 4 เมื่อพิจารณาค่า Pseudo R Square พบว่า Nagelkerke R Square เท่ากับ 0.084 ซึ่งหมายความว่า ตัวแปรอิสระที่นำ �มาศึกษาสามารถอธิบาย ความผันแปรการเป็นครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหารได้ (ประเภทที่ 2) ร้อยละ 8.4

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==