ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565

ความยากจนแฝงของครัวเรือน พ.ศ. 2565 57 สำ �หรับการแปลผลการวิเคราะห์ สามารถสรุปได้ดังนี้ 1 2 การศึกกษา ึ ความเป็นนู่อยู่ ็ ครัวเรือนที่มีสมาชิกอายุ 17 – 59 ปี อย่างน้อย 1 คน ที่จบการศึกษา สูงสุดระดับประถมศึกษาหรือต่ำ �กว่า มีโอกาสเป็นครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) สูงกว่า 1.8 เท่า เมื่อเทียบกับครัวเรือนที่ไม่มีสมาชิกอายุ 17 – 59 ปี ที่จบการศึกษาสูงสุดระดับประถมศึกษาหรือต่ำ �กว่า ครัวเรือนที่มีเด็กในวัยเรียน (6 - 15 ปี) อย่างน้อย 1 คน ที่ไม่ได้เข้าเรียน ในโรงเรียน มีโอกาสเป็นครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) สูงกว่า 2.7 เท่า เมื่อเทียบกับครัวเรือนที่ไม่มีเด็กในวัยเรียน (6 - 15 ปี) ที่ไม่ได้เข้าเรียนในโรงเรียน ครัวเรือนที่ดื่มน้ำ �จาก บ่อน้ำ �บาดาล หรือแม่น้ำ �/ลำ �ธาร/คลอง/น้ำ �ตก/ ภูเขา หรือน้ำ �ฝน หรือแหล่งอื่น ๆ มีโอกาสเป็นครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) สูงกว่า 1.5 เท่า เมื่อเทียบกับครัวเรือนที่ไม่ได้ดื่มน้ำ �จากแหล่งดังกล่าว ครัวเรือนที่ไม่มีส้วม หรือมีส้วมหลุม/ส้วมถัง หรือถ่ายลงแม่น้ำ � มีโอกาส เป็นครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) สูงกว่า 1.3 เท่า เมื่อเทียบกับครัวเรือน ที่มีส้วมแบบนั่งห้อยเท้า หรือส้วมแบบนั่งยอง ครัวเรือนกำ �จัดขยะโดย การเผา หรือการฝังกลบ หรือการทิ้งลงแม่น้ำ � ลำ �คลอง หรือการทิ้งตามที่ว่าง ที่สาธารณะ มีโอกาสเป็นครัวเรือนยากจนแฝงด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) สูงกว่า 1.3 เท่า เมื่อเทียบกับ ครัวเรือนที่ไม่ได้กำ �จัดขยะโดย การเผา หรือ การฝังกลบ หรือการทิ้งลงแม่น้ำ �/ลำ �คลอง หรือการทิ้งตามที่ว่าง/ที่สาธารณะ ครัวเรือนที่ไม่ใช้อินเทอร์เน็ต มีโอกาสเป็นครัวเรือนยากจนแฝง ด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) สูงกว่า 1.2 เท่า เมื่อเทียบกับครัวเรือนที่ใช้อินเทอร์เน็ต 3 การครอบครองสินนัทรัพพ์ย์ิ ครัวเรือนที่ไม่มีเครื่องปรับอากาศ มีโอกาสเป็นครัวเรือนยากจนแฝง ด้านอาหาร (ประเภทที่ 2) สูงกว่า 2.1 เท่า เมื่อเทียบกับครัวเรือนที่มีเครื่องปรับอากาศ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==