เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566

เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566 142 18.8 18.6 18.4 18.2 20.4 64.7 64.4 64.1 63.6 64.1 16.5 17.0 17.5 18.1 15.5 0.55 0.55 0.56 0.57 0.56 0.53 0.54 0.55 0.56 0.57 0.58 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 2561 2562 2563 2564 2565 ปี วัยเด็ก ( 0-14 ปี) วัยท� างาน ( 15 -59 ปี) วัยสูงอายุ ( 60 ปีขึ้นไป) อัตราการพึ่งพิง ลักษณะของประชากรในระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) โครงสร้างทางประชากรของกลุ่ม SEC ข้อมูลปี 2565 สัดส่วนของประชากร วัยเด็กอยู่ที่ร้อยละ 20.4 สูงกว่าภาพรวมทั่วประเทศ (ร้อยละ 16.0) ประชากรวัยท� างานของ กลุ่ม SEC อยู่ที่ร้อยละ 64.1 ซึ่งต�่ ากว่าภาพรวมทั่วประเทศ (ร้อยละ 65.2) และประชากร วัยสูงอายุอยู่ที่ร้อยละ 15.5 ซึ่งต�่ ากว่าภาพรวมทั่วประเทศ (ร้อยละ 18.8) (ประมวลผล จากโครงการส� ารวจภาวะการท� างานของประชากร ไตรมาส 3) และมีอัตราการพึ่งพิงของ กลุ่ม SEC เท่ากับ 0.56 หมายถึงประชากรวัยแรงงาน 1 คน ต้องดูแลเด็กและผู้สูงอายุ 0.56 คน ซึ่งหากเทียบกับทั่วประเทศพบว่ามีค่าที่สูงกว่าเล็กน้อย โดยทั่วประเทศมีอัตรา การพึ่งพิงอยู่ที่ 0.53 หรือประชากรวัยแรงงาน 1 คน ต้องดูแลเด็กและผู้สูงอายุ 0.53 คน การศึกษาของประชากรในกลุ่ม SEC พบว่า สัดส่วนของประชากรที่จบการศึกษา ระดับปริญญาตรีขึ้นไปอยู่ที่ ร้อยละ 12.7 ซึ่งต�่ ากว่าภาพรวมของทั่วประเทศ (ร้อยละ 13.9) และเมื่อพิจารณาจ� านวนปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีค่าเท่ากับ 9.14 ซึ่งมีค่าที่ต�่ ากว่าภาพรวมทั่วประเทศ (9.24 ปี) % อัตราส่วน ที่มา : ประมวลผลข้อมูลจากการส� ารวจภาวะการท� างานของประชากร (ไตรมาส 3) ส� านักงานสถิติแห่งชาติ .0 M แผนภูมิ 5.16 ร้อยละของประชากร และอัตราการพึ่งพิงของกลุ่ม SEC จ� าแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2561-2565

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==