เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566

เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566 172 2 .7 17.8 13 .5 8.9 36.7 22 .7 69.4 23 .1 32 .1 53 .1 17.3 22 .0 27.8 59.2 54 .4 37.9 46.0 55.3 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0 90.0 100.0 EEC NEC NeEC CWEC SEC SEZs ภาค การเกษตร ภาค อุตสาหกรรม ภาค การบริการ ประเด็นเด่นเขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย ตลอดระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) เขตเศรษฐกิจพิเศษในประเทศไทยมี การพัฒนาอย่างต่อเนื่องในทุกด้าน โดยจะเห็นได้จากการเติบโตทางเศรษฐกิจของแต่ละเขตพื้นที่ ที่สะท้อนผ่านผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product : GPP) หรือดัชนี ที่ใช้ส� าหรับชี้วัดมูลค่าเศรษฐกิจในจังหวัด ซึ่งเมื่อพิจารณา GPP ในเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้ง 6 กลุ่ม จะพบว่าพื้นที่ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เป็นพื้นที่ที่มี GPP สูงกว่า เขตเศรษฐกิจพิเศษกลุ่มอื่น (2,364,867 ล้านบาท ในปี 2564) ในขณะ ที่พื้นที่ระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ (NEC) เป็นพื้นที่ที่มี GPP น้อยที่สุด (504,524 ล้านบาท ในปี 2564) แผนภูมิ 7.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวม ล้านบาท หมายเหตุ : r คือ การปรับปรุงข้อมูลย้อนหลัง (Revised) p คือ ค่ารายปีที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลเบื้องต้น (Preliminary) ที่มา : ส� านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประมวลผลพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษโดยส� านักงานสถิติแห่งชาติ % สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม จ� าแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. 2564 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม พ.ศ. 2560-2564 2,260,008 2,424,734 2,429,116 2,089,739 2,364,867 483,906 509,510 525,468 498,389 504,524 0 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 2560 2561 2562r 2563r 2564p ปี EEC NEC NeEC CWEC SEC SEZs้ า

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==