เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566

เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566 176 เมื่อพิจารณาอัตราการมีงานท� าหรืออัตราส่วนของผู้มีงานท� าต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ของเขตเศรษฐกิจพิเศษ 6 กลุ่ม กับอัตราการมีงานท� าของประเทศ ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2561-2565) ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ (NEC) มีอัตราการท� างานค่อนข้างใกล้เคียง กับภาพรวมของประเทศแต่มีอัตราการมีงานท� าที่ต�่ ากว่าทั่วประเทศ ทั้งนี้ เขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคกลาง-ตะวันตก (CWEC) และระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) มีอัตราการมีงานท� าที่สูงกว่าภาพรวมระดับประเทศ โดย เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ยังคงเป็นเขตเศรษฐกิจที่มีอัตราการมีงานท� า มากที่สุด ซึ่งในปี 2565 (ไตรมาส 3) มีอัตราการมีงานท� าอยู่ที่ร้อยละ 69.9 ในขณะที่ระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคกลาง-ตะวันตก (CWEC) และระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) ค่อนข้างผันผวน ขณะเดียวกัน ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NeEC) ยังคงเป็นเขตที่มีอัตราการมีงานท� าต�่ าที่สุด ใน 6 กลุ่ม ซึ่งในปี 2565 (ไตรมาส 3) มีอัตราการมีงานท� าอยู่ที่ร้อยละ 62.5 การมีงานท� า (Employment) แผนภูมิ 7.4 อัตราการมีงานท� า พ.ศ. 2561-2565 ที่มา : ประมวลผลข้อมูลจากการส� ารวจภาวะการท� างานของประชากร (ไตรมาส 3) ส� านักงานสถิติแห่งชาติ % 2561 2562 2563 2564 2565 ทั่วราชอาณาจักร 68.0 66.2 66.7 66.0 67.4 EEC 70.3 69.5 69.1 69.8 69.9 NEC 68.7 65.9 66.2 65.4 65.7 NeEC 64.9 60.0 62.4 61.3 62.5 CWEC 68.3 68.1 67.0 65.6 69.8 SEC 68.7 66.2 69.3 68.4 67.7 SEZs 65.1 65.1 65.0 63.7 65.3 70.3 69.5 69.1 69.8 69.9 64.9 60.0 62.4 61.3 62.5 50.0 60.0 70.0 80.0 ปี ทั่วร าชอาณาจักร EEC NEC NeEC CWEC SEC SEZs 0.0 M

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==