เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566

เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566 178 14,057 14,526 23,195 28,044 16,856 51,697 55 ,584 97 ,669 108,896 70,534 0 20,000 40,000 60,000 80,000 100, 000 120, 000 2561 2562 2563 2564 2565 ปี EEC NEC NeEC CWEC SEC SEZs 0.7 0.7 1.1 1.3 0.7 1.4 1.5 2 .6 2 .9 1.8 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 2561 2562 2563 2564 2565 ปี ทั่วราชอาณาจักร EEC NEC NeEC CWEC SEC SEZs หากพิจารณาอัตราการว่างงานในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ 6 กลุ่ม กับอัตราการ ว่างงานของประเทศ จะเห็นว่า ในช่วง 5 ปี ที่ผ่านมา (2561-2565) เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษชายแดน (SEZs) เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษกลุ่มเดียวที่มีอัตราการว่างงานสูงกว่า ภาพรวมระดับประเทศ ขณะที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NeEC) เป็นกลุ่มที่มีอัตราการว่างงานค่อนข้างผันผวน และในปี 2565 เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มีอัตราการว่างงานต�่ าที่สุด ใน 6 กลุ่ม เพียงร้อยละ 0.7 เท่านั้น ซึ่งในปี 2565 (ไตรมาส 3) พบว่า อัตราการว่างงานของทุกกลุ่มลดลง เมื่อเทียบกับปี 2564 (ไตรมาส 3) ท� าให้เห็นถึง สถานการณ์ที่ดีขึ้นหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 การว่างงาน (Unemployment) แผนภูมิ 7.6 จ� านวนผู้ว่างงาน และอัตราการว่างงาน พ.ศ. 2561-2565 ที่มา : ประมวลผลข้อมูลจากการส� ารวจภาวะการท� างานของประชากร (ไตรมาส 3) ส� านักงานสถิติแห่งชาติ คน จ� านวนผู้ว่างงาน อัตราการว่างงาน %

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==