เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566

The Thailand Special Economic Zones 2023 181 2560 2561 2562 2563 2564 EEC 170, 665 187, 891 305, 396 277, 651 261, 828 NEC 132, 241 116, 259 159, 113 150, 994 174, 165 NeEC 23,356 32,619 47,093 32,522 29,974 CWEC 156, 548 190, 772 290, 938 168, 355 151, 908 SEC 195, 518 132, 842 193, 349 161, 630 157, 780 SEZs 145, 688 112, 516 207, 804 166, 221 168, 141 170,665 187 ,891 305 ,396 277 ,651 261,828 23,356 32 ,619 47 ,093 32 ,522 29,974 0 100, 000 200, 000 300, 000 400, 000 ปี EEC NEC NeEC CWEC SEC SEZs นอกเหนือจากแรงงานของไทย แรงงานต่างด้าวยังเป็นแรงงานอีกกลุ่มที่ถือว่า มีความส� าคัญต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ จากสถิติคนต่างด้าว (กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน) พบว่าคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท� างานในประเทศไทย (ตามพระราชก� าหนด การท� างานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ 2) พ.ศ. 2561) ในปี 2564 เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มีคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท� างานในประเทศไทย สูงสุด 261,828 คน ในขณะที่ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NeEC) มีจ� านวนต�่ าสุด เพียง 29,974 คน เมื่อดูถึงการเปลี่ยนแปลงของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาต ท� างานในประเทศไทยในช่วง 5 ปี ที่ผ่านมา (2560-2564) จะพบว่ามีอัตราการเปลี่ยนแปลง ของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท� างานในประเทศไทยเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเกือบทุกเขตพื้นที่ เขตเศรษฐกิจพิเศษ ยกเว้นระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) และระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคกลาง-ตะวันตก (CWEC) แรงงานต่างด้าว แผนภูมิ 7.9 จ� านวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท� างาน พ.ศ. 2560-2564 คน ที่มา : กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ประมวลผลพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษโดยส� านักงานสถิติแห่งชาติ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==