เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566

The Thailand Special Economic Zones 2023 189 16.6 15.2 17.9 14.0 20.4 18.0 69.1 60.6 60.2 67.5 64.1 62.6 14.2 24.2 21.8 18.4 15.5 19.5 0.45 0.65 0.66 0.48 0.56 0.60 0.00 0.10 0.20 0.30 0.40 0.50 0.60 0.70 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 EEC NEC NeEC CWEC SEC SEZs วัยเด็ก ( 0 - 14 ปี) วัยท� างาน ( 15 - 59 ปี) วัยสูงอายุ ( 60 ปีขึ้นไป) อัตราการพึ่งพิง เมื่อพิจารณาโครงสร้างทางประชากรของเขตเศรษฐกิจพิเศษ 6 กลุ่ม ข้อมูลปี 2565 (ไตรมาส 3) พบว่าเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มีสัดส่วนประชากรวัยท� างาน สูงสุด อยู่ที่ร้อยละ 69.1 ซึ่งสูงกว่าภาพรวมทั่วประเทศ (ร้อยละ 65.2) ระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคเหนือ (NEC) มีสัดส่วนของประชากรวัยสูงอายุสูงสุด (ร้อยละ 24.2) ในขณะที่ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) มีสัดส่วนประชากรวัยเด็กสูงสุด (ร้อยละ 20.4) เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มีอัตราการพึ่งพิงต�่ าที่สุด เท่ากับ 0.45 ซึ่งหมายถึงประชากรวัยแรงงาน 1 คน ต้องดูแลเด็กและผู้สูงอายุ 0.45 คน ขณะที่ ร ะเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NeEC) มีอัตราการพึ่งพิงสูงสุด เท่ากับ 0.66 หมายถึงประชากรวัยแรงงาน 1 คน ต้องดูแลเด็กและผู้สูงอายุ 0.66 คน โครงสร้างประชากร อัตราการพึ่งพิง ลักษณะของประชากรในเขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย มิติด้านลักษณะของประชากร แผนภูมิ 7.16 ร้อยละของประชากร และอัตราการพึ่งพิง จ� าแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2565 % อัตราส่วน ที่มา : ประมวลผลข้อมูลจากการส� ารวจภาวะการท� างานของประชากร (ไตรมาส 3) ส� านักงานสถิติแห่งชาติ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==