เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566

เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566 190 EEC NEC NeEC CWEC SEC SEZs สูงกว่าปริญญาตรี 0.7 1.4 0.8 1.0 0.8 1.0 ปริญญาตรี 11.6 11.9 8.1 10.9 11.9 9.4 อนุปริญญา 9.1 4.6 3.5 4.3 4.0 3.9 มัธยมศึกษาตอนปลาย 20.1 14.4 16.6 17.0 16.0 14.5 มัธยมศึกษาตอนต้น 18.6 12.5 17.6 17.3 15.5 15.1 ประถมศึกษา 16.6 16.0 21.8 20.6 22.5 21.6 ต�่ ากว่าประถมศึกษา 20.5 28.2 29.5 24.0 24.5 27.4 ไม่มีการศึกษา 2.9 11.0 2.1 5.0 4.7 7.2 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 ไ ม่มีการศึกษา ต�่ ากว่าประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย อนุปริญญา ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี การศึกษาของประชากรในเขตเศรษฐกิจพิเศษ 6 กลุ่ม พบว่า ระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคเหนือ (NEC) มีสัดส่วนของประชากรที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป สูงสุด อยู่ที่ร้อยละ 13.3 ส่วน ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NeEC) มีสัดส่วนของประชากรที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปต�่ าสุด เพียงร้อยละ 8.9 และเมื่อพิจารณาถึงแนวโน้มของจ� านวนปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ของเขตเศรษฐกิจพิเศษ 6 กลุ่ม ในช่วงปี 2561-2565 (ไตรมาส 3) พบว่า ทุกเขตเศรษฐกิจ พิเศษมีแนวโน้มของจ� านวนปีการศึกษาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามในปี 2565 (ไตรมาส 3) โดยภาพรวมเกือบทุกเขตมีจ� านวนปีการศึกษาเฉลี่ยต�่ ากว่าภาพรวมทั่วประเทศ มีเพียง เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ที่มีปีการศึกษาเฉลี่ยอยู่ที่ 9.96 ปีสูงกว่า ภาพรวมของทั่วประเทศ (9.24 ปี) ปีการศึกษาเฉลี่ย แผนภูมิ 7.17 ร้อยละของประชากรในเขตเศรษฐกิจพิเศษ จ� าแนกตามการศึกษา พ.ศ. 2565 ที่มา : ประมวลผลข้อมูลจากการส� ารวจภาวะการท� างานของประชากร (ไตรมาส 3) ส� านักงานสถิติแห่งชาติ % 8.9 13.3

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==