เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566

เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566 196 มิติด้านแรงงาน ในปี 2565 (ไตรมาส3) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ( SEZs ) มีก� าลังแร ง ง านสูงสุด 3 , 988 , 198 คน ในขณะที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) มีก� าลัง แรงงานต�่ าสุด 1,896,627 คน ในปี 2565 (ไตรมาส 3 )เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มีอัตราการว่ างงานต�่ าที่สุดใน 6 กลุ่ มเพียงร้ อยละ 0.7 เท่ านั้น ขณะที่ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2561-2565) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน (SEZs) เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษกลุ่มเดียวที่มีอัตราการว่างงานสูงกว่าภาพรวม ระดับประเทศ (ร้อยละ 1.8 ในปี 2565) เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เป็นเขตเศรษฐกิจ ที่มีอัตราการมีงานท� ามากที่สุด (ร้อยละ 69.9 ในปี2565 (ไตรมาส 3)) ขณะเดียวกัน ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเฉียง เหนือ (NeEC) เป็นเขตที่มีอัตราการมีงานท� าต�่ าที่สุดใน 6 กลุ่ม (ร้อยละ 62.5 ในปี 2565 (ไตรมาส 3)) ในปี 2565 (ไตรมาส 3) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน (SEZs) มีก� าลังแร ง ง านด้ านวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีสูงสุด 443 , 850 คน ส่ วนระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) มีจ� านวนต�่ าสุด 266,406 คน โดยเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มีสัดส่วนก� าลังแรงงานด้าน S&T ต่อก� าลังแรงงานรวมสูงสุด ร้อยละ 17.7 ในขณะที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ (NeEC) มีสัดส่วนก� าลังแรงงานด้าน S&T ต่อก� าลังแรงงานรวม ต�่ าสุด ร้อยละ 10.0 ในปี2565 (ไตรมาส3) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน(SEZs) มีก� าลังแรงงาน ด้านดิจิทัลสูงสุด73,850คนส่วนระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้(SEC) ต�่ าสุดมีจ� านวน 37,325 คน ทุกเขตเศรษฐกิจพิเศษมีสัดส่วนของก� าลังแรงงานด้านดิจิทัล ต่อก� าลังแรงงานรวม ต�่ ากว่าภาพรวมของประเทศ ในปี 2565 (ไตรมาส 3) เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มีคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตท� างานในประเทศไทยสูงสุด 261,828 คน และระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เ ฉียง เ หนือ ( NeEC ) มีจ� านวนต�่ าสุด เพียง 29,974 คน

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==