เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566
เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566 198 เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มีสัดส่วน ประชากรวัยท� างานสูงสุด(ร้อยละ69.1ในปี2565(ไตรมาส3)) ซึ่งสูงกว่าภาพรวมทั่วประเทศ ในปี 2565 (ไตรมาส 3) ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคเหนือ (NEC) มีสัดส่วนของประชากรที่จบการศึกษา ระดับปริญญาตรีขึ้น ไ ปสู งสุดอยู่ ที่ ร้ อยละ 13.3 ส่วนระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NeEC) มีสัดส่วนของประชากรที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปต�่ าสุดเพียง ร้อยละ 8.9 ทั้งนี้มีเพียงเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) (9.96 ปี) เท่านั้นที่มีจ� านวน ปีการศึกษาเฉลี่ยสูงกว่าภาพรวมของทั่วประเทศ (9.24 ปี) ในปี 2565 (ไตรมาส 3) เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มีอัตราพึ่งพิงต่ำที่สุดเท่ากับ 0.45 ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NeEC) มีอัตราพึ่งพิงสูงสุดเท่ากับ 0.66 มิติด้ านลักษณะของประชากร ครัวเรือนในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) มีมูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยของ ครัวเรือนสูงที่สุด (2,355,921 บาท ในปี 2564) แต่กลับพบว่า ครัวเรือนในพื้นที่เขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มีมูลค่าทรัพย์สินเฉลี่ยของครัวเรือนต�่ าที่สุด ซึ่งมี ความแตกต่างกันถึง 1.8 เท่า ครัวเรือนในระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (NeEC) มีสัดส่วน การเป็นหนี้สูงที่สุด (ร้อยละ 57.4 ในปี 2564) ซึ่งสูงกว่าภาพรวมของประเทศ แต่กลับ พบว่าครัวเรือนในระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) มีมูลค่าหนี้สินทั้งสิ้นเฉลี่ยต่อ ครัวเรือนที่เป็นหนี้สูงที่สุด (434,683 บาท ในปี 2564) พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (SEC) มีค่าสัมประสิทธิ์ของความไม่เสมอภาค สูงสุด (0.335 ในปี 2564) แสดงว่าพื้นที่นี้มีการกระจายรายได้ที่ไม่เท่าเทียมกันมาก หรือมีความเหลื่อมล�้ ามากที่สุดเมื่อเทียบกับเขตเศรษฐกิจพิเศษอื่น มิติด้ านเศรษฐกิจ (ต่ อ)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==