เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566
เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566 4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ มีข้อมูลสถิติเชิงพื้นที่ ส� าหรับประเมินและสะท้อนสถานการณ์ของเขตเศรษฐกิจ พิเศษประเทศไทยในมิติด้านต่าง ๆ สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการประเมินศักยภาพ ความพร้อม และความสามารถในการแข่งขันของพื้นที่ รวมถึงเป็นข้อมูลประกอบการวางแผน และจัดท� านโยบายการพัฒนาให้เหมาะสมและสามารถก� าหนดเป้าหมายที่ท้าทายและเป็นไป ได้จริง ขอบเขตของการศึกษา รายงานวิเคราะห์ฉบับนี้มุ่งน� าเสนอสถานการณ์ของเขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย ด้วยข้อมูลสถิติ โดยการใช้ข้อมูลจากการส� ารวจตัวอย่างของส� านักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูล ทะเบียน และข้อมูลแหล่งอื่น ๆ มาศึกษาวิเคราะห์และน� าเสนอในระดับเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยเขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทยที่ท� าการศึกษานี้ เป็นกลุ่มจังหวัดที่ถูกก� าหนดให้เป็น พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ 4 ที่สอดคล้องตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (09) เขตเศรษฐกิจพิเศษ (พ.ศ. 2566 - 2580) (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) ซึ่งแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม ได้แก่ 1 2 เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ (Northern Economic Corridor: NEC) ประกอบด้วย ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง ประกอบด้วย ล� าปาง ล� าพูน เชียงราย และเชียงใหม่ 4 ข้อสังเกต: ตาม พรบ. เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 ก� าหนดให้ทุกเขตเศรษฐกิจพิเศษมีขอบเขตพื้นที่เป็นระดับจังหวัด ยกเว้น เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษชายแดน (SEZs) ที่มีขอบเขตพื้นที่ระดับต� าบล ส� าหรับการวิเคราะห์และน� าเสนอข้อมูลส� าหรับ SEZs ในรายงานฉบับนี้ จะเป็นการ ประมวลผลในภาพของจังหวัด ไม่ได้เฉพาะเขตพื้นที่ที่อยู่ใน SEZs
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==