เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566

เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566 10 3 กลุ่มที่ 3 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน (Special Economic Zones: SEZs) โดยเขตเศรษฐกิจพิเศษในกลุ่มที่ 1 และ 2 มีขอบเขตในระดับจังหวัด ส่วนเขต เศรษฐกิจพิเศษในกลุ่มที่ 3 มีขอบเขตในระดับพื้นที่ที่ย่อยกว่าระดับจังหวัด โดยกระจาย อยู่ในพื้นที่ระดับต� าบล 91 ต� าบล หรือพื้นที่ระดับอ� าเภอ 22 อ� าเภอ ซึ่งอยู่ในพื้นที่ระดับ จังหวัด 10 จังหวัด ส� าหรับความเป็นมาและการพัฒนาแต่ละเขตเศรษฐกิจมีรายละเอียดดังนี้ โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่ ง ทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard Development Program: ESDP) จุดเริ่มต้นแนวคิดเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก (EEC) พ.ศ. 2525 พ.ศ. 2557 ตั้งคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) มอบหมาย นโยบายการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มติ คสช. ที่ 2/2560 ตรา พรบ. เขต พัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 โดยมีคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) มีอ� านาจ จัดตั้ง EEC พ.ศ. 2558-2559 จัดตั้ง เขตพัฒนา เ ศรษฐกิจพิเ ศษ ชายแดน ปี 2558 เริ่มเฟสแรก 5 จังหวัด และ ปี 2559 เฟสสอง มีอีก 5 จังหวัด ทั้งนี้แต่ละจังหวัดด� าเนินการ บางอ� าเภอ มติ ครม. 20 กันยายน 2565 ปรับปรุง แก้ไข พรบ. เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 ให้ครอบคลุมพื้นที่เขตพัฒนา พิเศษอื่น ๆ น� าไปสู่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ 4 ภาค ที่นอกเหนือจาก EEC ซึ่งขับเคลื่อน ด� าเนินการโดยคณะกรรมการนโยบายการ พัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษ (กพศ.) พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2563

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==