เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566

The Thailand Special Economic Zones 2023 13 มูลค่าสูงและมีศักยภาพในการแข่งขันสูงให้สอดรับกับบริบทโลกบนฐานกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่ทันสมัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นเมืองอัจฉริยะน่าอยู่และ มีความทันสมัยระดับนานาชาติ และสามารถประกอบกิจการอย่างมีคุณภาพ ซึ่งจะท� าให้ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น และยกระดับการพัฒนาแบบก้าวกระโดด เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับประเทศไทยในฐานะประตูของภูมิภาคเอเชีย 1 2 3 4 5 6 7 แนวทางการพัฒนา พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง และสาธารณูปโภคที่ส� าคัญ พัฒนาสนามบินอู่ตะเภาเป็นสนามบินหลักของเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพิ่มขีดความสามารถในการรองรับสินค้าและประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ของท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือมาบตาพุด และท่าเรือสัตหีบ ด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ทันสมัย ส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษ พัฒนาศักยภาพและคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวทั้งเชิงประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรม เชิงนิเวศและอนุรักษ์เชิงสุขภาพแหล่งท่องเที่ยวทางศิลปวิทยาการ แหล่งท่องเที่ยวเพื่อนันทนาการ รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยวสร้างใหม่ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ส� าหรับการท� าวิจัยต่อยอดเพื่อขยายผลงานวิจัยไปสู่เชิงพาณิชย์ พัฒนาเมืองในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้เป็นเมืองอัจฉริยะที่มี ความน่าอยู่และทันสมัยระดับนานาชาติ

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==