เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566

เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566 20 การพัฒนาใน SEZs คลอบคลุม 13 กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย ได้แก่ 1) อุตสาหกรรมการเกษตร ประมง และกิจการที่เกี่ยวข้อง 2) การผลิตผลิตภัณฑ์และบริการ ทางการแพทย์ 3) การผลิตยานยนต์ เครื่องจักร และชิ้นส่วน 4) การผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ 5) การผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ โลหะ และวัสดุุ 6) การผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก และเยื่อกระดาษ 7) กิจการสาธารณูปโภค 8) นิคมหรือเขตอุตสาหกรรม 9) การผลิตสิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องหนัง 10) การผลิตอัญมณีีและเครื่องประดับ 11) การผลิตเครื่องเรือน 12) กิจการเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยว และ 13) กิจการบริการ 1 2 3 4 แนวทางการพัฒนา ให้สิทธิประโยชน์ทั้งทางด้านภาษีและมิใช่ภาษีเพื่อจูงใจให้เกิดการลงทุน เพิ่มประสิทธิภาพของศูนย์บริการเบ็ดเสร็จโดยเฉพาะการให้มีอ� านาจ ในการอนุมัติ อนุญาตแบบเบ็ดเสร็จในพื้นที่ และพัฒนาด่านเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของการอ� านวยความสะดวกในการผ่านแดน ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ตามศักยภาพ โดยพัฒนาต่อยอดจากฐานทรัพยากรและกิจกรรมทาง เศรษฐกิจในพื้นที่ที่มีอยู่เดิม พัฒนาพื้นที่บริเวณชายแดนให้มีความพร้อม ส� าหรับรองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมที่เชื่อมโยงกับประเทศ เพื่อนบ้าน ใช้ประโยชน์และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม อาทิ โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม พลังงาน ระบบน�้ าประปา ที่อยู่อาศัย โรงพยาบาล และสถานศึกษา ศึกษากฎหมายและกฎระเบียบที่มีอยู่เพื่อปรับปรุงและจัดท� าข้อเสนอ กฎหมายและกฎระเบียบ และจัดท� าระบบฐานข้อมูล เพื่อให้เอื้อต่อ การพัฒนาเชิงพื้นที่ การพัฒนาธุรกิจรูปแบบใหม่ และการส่งเสริมการ ลงทุนร่วมระหว่างรัฐและเอกชน รวมทั้งส่งเสริมและอ� านวยความสะดวก ในการลงทุนในอุตสาหกรรมและบริการเป้าหมาย

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==