เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566

เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย พ.ศ. 2566 26 กำรพัฒนำเขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย การศึกษาสถานการณ์ของเขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย ในมิติการพัฒนา 4 ด้าน อันได้แก่ มิติด้านแรงงาน มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้าน ICT และ มิติด้านสภาพแวดล้อม เป็นประเด็นส� าคัญที่ได้น� ามาพิจารณาและศึกษาข้อมูลและสารสนเทศทางสถิติเชิงพื้นที่ ซึ่งสะท้ อนให้ เห็นถึงเรื่องราวและสถานการณ์ของเขตเศรษฐกิจพิเศษ ตลอดจน การเปลี่ยนแปลงภายในเขตเศรษฐกิจพิเศษในมิติต่าง ๆ อีกทั้งยังเป็นประเด็นที่สอดคล้องกับ การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น (09) เขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยท� าการศึกษาและวิเคราะห์สถานการณ์ เขตเศรษฐกิจพิเศษ ประเทศไทย 6 กลุ่ม ในมิติการพัฒนา 4 ด้านข้างต้น ด้วยการน� าข้อมูลจากการส� ามะโน และส� ารวจตัวอย่างของส� านักงานสถิติแห่งชาติ และข้อมูลจากแหล่งอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มาท� าการบูรณาการและวิเคราะห์ เพื่อให้ เกิดความเข้าใจพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ในมุมมองที่เกิดจากการใช้ข้อมูลสถิติมาอธิบายพื้นที่เหล่านี้ให้มากขึ้น อนึ่ง ในการน� าเสนอข้อมูลในตารางสถิติ แผนภูมิ และแผนภาพ ผลรวมของ แต่ละจ� านวนอาจไม่เท่ากับยอดรวม อันเนื่องมาจากข้อมูลแต่ละจ� านวนมีการปัดเศษ โดยอิสระจากกัน 1. เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ประกอบด้วย ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง 2. ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ (Northern Economic Corridor: NEC) ประกอบด้วย ล� าปาง ล� าพูน เชียงราย และเชียงใหม่ 3. ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (Northeastern Economic Corridor: NeEC) ประกอบ ด้วย ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย และนครราชสีมา 4. ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคกลาง-ตะวันตก (Central- Western Economic Corridor: CWEC) ประกอบด้วย พระนครศรีอยุธยา นครปฐม สุพรรณบุรี และกาญจนบุรี 5. ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (Southern Economic Corridor: SEC) ประกอบด้วย ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช 6. เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน (Special Economic Zones: SEZs) ประกอบด้วย ตาก สงขลา สระแก้ว ตราด หนองคาย นครพนม มุกดาหาร เชียงราย กาญจนบุรี และ นราธิวาส 1 2 3 4 มิติการพัฒนา 4 ด้าน เขตเศรษฐกิจพิเศษ 6 กลุ่ม มิติด้านแรงงาน มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านลักษณะของ ประชากร มิติด้านความพร้อมใน การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==