สถิติสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย พ.ศ. 2565

น้้ำ � สถิติสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย พ.ศ. 2565 69 บทที่ 4 น้ำ � น้ำ �เป็นทรัพยากรที่ มี ความสำ �คัญต่อการดำ �รงชี วิ ตของมนุษย์ และสิ่ งมี ชี วิ ตอื่ น ๆ เพราะมนุษย์ต้ องใช้ น้ำ �สำ �หรับการบริ โภคและอุปโภค การทำ �การเกษตร การทำ �อุตสาหกรรม การทำ �ปะมง เป็นเส้ นทางคมนาคมขนส่ง รวมทั้ งเป็นแหล่งท่องเที่ ยวของมนุษย์ และมี ประโยชน์ต่าง ๆ อีกมากมาย ดังนั้นน้ำ �จึงเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าอย่างยิ่งต่อการดำ �รงชีวิตของมนุษย์ ในปี 2565 ประเทศไทยมีปริมาตรน้ำ �ต่อระดับน้ำ �เก็บกักในอ่างเก็บน้ำ �ขนาดใหญ่ ณ วันที่ 1 มกราคม ร้อยละ 75.0 เพิ่มขึ้นจากปี 2564 ที่มีปริมาตรน้ำ �ต่อระดับน้ำ �เก็บกัก ร้อยละ 60.7 และ มี ปริ มาตรน้ำ �ใช้ การได้ ต่อระดับน้ำ �เก็บกักในอ่างเก็บน้ำ �ขนาดใหญ่ ร้ อยละ 41.8 เพิ่ มขึ้ นจากปี 2564 เช่นเดียวกับปริมาตรน้ำ �ต่อระดับน้ำ �เก็บกัก และหากพิจารณาปริมาตรน้ำ �ต่อระดับน้ำ �เก็บกักและ ปริมาตรน้ำ �ใช้การได้ต่อระดับน้ำ �เก็บกักเป็นรายภาค พบว่า ภาคกลางมีปริมาตรน้ำ �ต่อระดับน้ำ � เก็บกักและปริ มาตรน้ำ �ใช้ การได้ ต่อระดับน้ำ �เก็บกักมากที่ สุด และภาคเหนื อมี ปริ มาตรน้ำ �ต่อระดับ น้ำ �เก็บกักและปริมาตรน้ำ �ใช้การได้ต่อระดับน้ำ �เก็บกักน้อยที่สุด (ตารางที่ 4.3) คุณภาพน้ำ �ทะเลชายฝั่งปี 2564 พบว่า ส่วนใหญ่คุณภาพน้ำ �ทะเลชายฝั่งอยู่ในเกณฑ์ดี ร้อยละ 47 รองลงมาเป็นเกณฑ์พอใช้ ร้อยละ 40 เกณฑ์เสื่อมโทรม ร้อยละ 7 เกณฑ์ดีมากและ เกณฑ์เสื่อมโทรมมาก ร้อยละ 3 หากพิจารณาคุณภาพน้ำ �ทะเลชายฝั่งปี 2564 เทียบกับปี 2563 พบว่า คุณภาพน้ ำ �ทะเลชายฝั่งที่ มี เกณฑ์ดี มากและเกณฑ์ดี ลดลง เกณฑ์เสื่ อมโทรมคงที่ สำ �หรับเกณฑ์พอใช้และเกณฑ์เสื่อมโทรมมากเพิ่มขึ้น (ตารางที่ 4.5) คุณภาพน้ำ �แหล่งน้ำ �ผิ วดิ นปี 2564 พบว่า ส่วนใหญ่คุณภาพน้ำ �แหล่งน้ำ �ผิ วดิ นอยู่ในเกณฑ์ พอใช้ ร้ อยละ 44 รองลงมาเป็นเกณฑ์ดี ร้ อยละ 40 เกณฑ์เสื่ อมโทรม ร้ อยละ 14 และเกณฑ์ดี มาก ร้อยละ 2 ตามลำ �ดับ หากพิจารณาคุณภาพน้ำ �แหล่งน้ำ �ผิวดินปี 2564 เทียบกับปี 2563 พบว่า คุณภาพน้ำ �แหล่งน้ำ �ผิ วดิ นที่ มี เกณฑ์ดี มาก เกณฑ์ดี และเกณฑ์พอใช้ เพิ่ มขึ้ น สำ �หรับเกณฑ์ เสื่อมโทรมลดลง แสดงว่าคุณภาพน้ำ �แหล่งน้ำ �ผิวดินในปี 2564 มีคุณภาพน้ำ �ดีขึ้นจากปี 2563 (ตารางที่ 4.6) สำ �หรับข้อมูลร้อยละของครัวเรือน จำ �แนกตามประเภทน้ำ �ดื่ม ในปี 2564 พบว่า ร้อยละ ของครัวเรือนส่วนใหญ่ใช้น้ำ �ดื่มบรรจุขวด/ตู้น้ำ �ดื่มหยอดเหรียญ ร้อยละ 75.2 รองลงมาเป็นน้ำ � ประปาผ่านการบำ �บัด (ต้ม/กรอง) ร้อยละ 15.8 (ตารางที่ 4.9) และหากพิจารณาข้อมูลร้อยละของ ครัวเรือน จำ �แนกตามประเภทน้ำ �ใช้ ในปี 2564 พบว่า ร้ อยละของครัวเรื อนส่วนใหญ่ใช้ นำ ้ �ประปา ภายในบ้ าน ร้ อยละ 88.3 รองลงมาเป็นนำ ้ �บ่อ/บาดาลภายในบ้ าน ร้อยละ 6.3 และเมื่อพิจารณา ข้ อมูลตั้ งแต่ปี 2560 – 2564 พบว่า ร้ อยละของครัวเรื อนที่ ใช้ นำ ้ �ประปาภายในบ้ านมี แนวโน้ มเพิ่ มข้ ึ น และร้ อยละของครัวเรือนที่ ใช้ นำ ้ �จากแม่นำ ้ �/ลำ �ธาร/คลอง/นำ ้ �ตก/ภูเขา และอื่ น ๆ มี แนวโน้ มลดลง แสดงว่า ปี 2564 มี ครัวเรือนที่สามารถเข้าถึงสาธารณูปโภคได้เพิ่มขึ้น (ตารางที่ 4.11)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==