สถิติสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย พ.ศ. 2565

ข้อมูลพื้นฐาน สถิติสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย พ.ศ. 2565 5 บทที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ในปี 2564 ประเทศไทยมีจำ �นวนประชากรจากทะเบียนทั้งประเทศ 66,171.4 พันคน ลดลงจากปี 2563 ร้อยละ 0.02 (ปี 2563 มีจำ �นวนประชากร 66,186.7 พันคน) ประกอบไปด้วย ประชากรเพศชาย 32,339.1 พันคน และเพศหญิง 33,832.3 พันคน หากพิจารณาจำ �นวน ประชากรตามภาค โดยแบ่งภาคตามแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่งชาติ พบว่า ภาคตะวันออก เฉี ยงเหนื อมี จำ �นวนประชากรมากที่ สุด 21,826.9 พันคน คิ ดเป็นร้ อยละ 33.0 ของจำ �นวน ประชากรทั้งประเทศ รองลงมาเป็นภาคเหนือ และกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีจำ �นวน ประชากร 12,010.0 พันคน และ10,872.1 พันคน ตามลำ �ดับ สำ �หรับภาคที่มีจำ �นวนประชากร น้อยที่สุด คือ ภาคกลาง 3,003.7 พันคน คิดเป็นร้อยละ 4.5 ของจำ �นวนประชากรทั้งประเทศ (ตารางที่ 1.3) สำ �หรับความหนาแน่นของประชากร พบว่า ประเทศไทยมีความหนาแน่นของ ประชากร 129.0 คนต่อตร.กม. เท่ากับปี 2563 โดยจังหวัดที่มีความหนาแน่นมากที่สุด คือ กรุงเทพมหานคร 3,523.9 คนต่อตร.กม. รองลงมาคื อ จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ มีความหนาแน่นของประชากร 2,070.8 คนต่อตร.กม. และ 1,350.9 คนต่อตร.กม. ตามลำ �ดับ สำ �หรับจังหวัดที่ มี ความหนาแน่นของประชากรน้ อยที่ สุด คื อ จังหวัดแม่ฮ่องสอน 22.5 คนต่อตร.กม (ตารางที่ 1.5) จากข้ อมูลร้ อยละของครัวเรื อน จำ �แนกตามประเภทของที่ อยู่อาศัย ชนิ ดของวัสดุก่อสร้ าง ที่อยู่อาศัยของครัวเรือน และประเภทของการใช้ส้วมของครัวเรือน ในปี 2564 พบว่า ครัวเรือน ส่วนใหญ่มีประเภทของที่อยู่อาศัยเป็นบ้านเดี่ยว ร้อยละ 74.5 รองลงมาคือ ห้องแถว/ตึ กแถว/ อาคารพาณิ ชย์ ร้ อยละ 12.9 และทาวเฮ้ าส์/บ้ านแฝด 6.8 ตามลำ �ดับ (ตารางที่ 1.9) สำ �หรับชนิด ของวัสดุก่อสร้างที่อยู่อาศัยของครัวเรือน พบว่า ส่วนใหญ่จะเป็นตึก ร้อยละ 65.0 รองลงมาเป็น ครึ่งตึกครึ่งไม้ ร้อยละ 22.3 และเป็นไม้ ร้อยละ 12.2 ตามลำ �ดับ (ตารางที่ 1.11) สำ �หรับข้อมูล ประเภทของการใช้ ส้ วมของครัวเรือน พบว่า ส่วนใหญ่จะเป็นส้ วมแบบนั่งห้ อยเท้ า (ส้ วมชักโครก) ร้อยละ 53.8 รองลงมาเป็นส้วมแบบนั่งยอง (ส้วมซึม) ร้อยละ 39.9 และส้วมแบบนั่งห้อยเท้า และส้วมแบบนั่งยอง ร้อยละ 6.1 ตามลำ �ดับ นอกจากนั้นยังพบว่า มีครัวเรือนที่ไม่มีส้วมอีก ร้ อยละ 0.2 ซึ่ งร้ อยละของครัวเรื อนที่ ไม่มี ส้ วมส่วนนี้ ควรนำ �ไปหาสาเหตุที่ ชัดเจน และหาแนวทาง ในการช่วยเหลื อ เพราะว่าส้ วมนั้ นเป็นสิ่ งที่ จำ �เป็นในชี วิ ตประจำ �วันของมนุษย์ทุกคน และสามารถ ใช้วัดสุขอนามัยของครัวเรือนในประเทศได้ (ตารางที่ 1.13) จากข้ อมูลงบประมาณด้ านการบริ หารจัดการมลพิ ษและสิ่ งแวดล้ อม พบว่า ปี งบประมาณ 2564 มีงบประมาณด้านการบริหารจัดการมลพิษและสิ่งแวดล้อม 2,051 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปีงบประมาณ 2563 ร้อยละ 53.3 (ปีงบประมาณ 2563 มีงบประมาณด้านการบริหารจัดการ มลพิ ษฯ 1,338 ล้ านบาท) คิ ดเป็นร้ อยละ 0.06 ของงบประมาณทั้ งหมดของประเทศ (ตารางที่ 1.17)

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==