Thailand Environment Statistics 2012
บทที่ 8 การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ การตั้ งถิ่ นฐานของมนุษย์ในอดี ตนั้ น จะเลื อกพื้ นที่ ที่ มี สิ่ งแวดล้อมเหมาะแก่การด� ำรงชี พ ที่ ใดมี ผลิ ตผลตาม ธรรมชาติ อย่างเพี ยงพอ มี สภาพอากาศดี มี อุณหภูมิ และความชื้ นที่ เหมาะสมมี น� ้ ำกิ นน� ้ ำใช้สมบูรณ์ มนุษย์จะตั้ ง ถิ่ นฐานอยู่อาศัยกันหนาแน่น และเมื่ อมี จ� ำนวนเพิ่ มมากขึ้ นเรื่ อย ๆ จะมี ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมตามธรรมชาติ เพราะ ถ้ามนุษย์รู้จักแต่จะใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ไม่สนใจในการบ� ำรุงดูแลรักษา ก็จะท� ำให้ทรัพยากรธรรมชาติ มี แต่ความ เสื่ อมโทรมลงเรื่ อยๆ ในปี 2554 ประเทศไทยมีจ� ำนวนประชากรทั้ งสิ้ น 64.1 ล้านคน เพิ่ มขึ้ นจากปี 2553 ร้อยละ 0.3 ใน ขณะที่ การกระจายตัวของประชากรจะกระจุกตัวหนาแน่ นในเขตเมื องและพื้ นที่ ที่ มี ความเจริ ญทางด้ านเศรษฐกิ จ อุตสาหกรรมและมี สิ่ งอ� ำนวยความสะดวกสบายด้านสาธารณูปโภคที่ รัฐสร้างขึ้ น โดยเฉพาะกรุงเทพมหานครซึ่ งเป็น เมื องหลวง มี ประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นแออัดมากที่ สุด จากผลการส� ำรวจการย้ายถิ่ นของประชากร ของส� ำนักงานสถิ ติ แห่งชาติ พบว่า การย้ายถิ่ นของประชากร เพิ่ มขึ้ นเล็กน้อย จาก 1.8 ล้านคน ในปี 2551 เพิ่ มขึ้ นเป็น 2.0 ล้านคน ในปี 2552 หรื อเพิ่ มขึ้ นร้อยละ 8.1 ภาคตะวัน ออกเฉี ยงเหนื อยังคงเป็นภาคที่ มี การย้ายถิ่ นมากที่ สุด คื อมี การย้ายถิ่ น 9.1 แสนคน รองลงมาคื อ ภาคกลาง (ไม่รวม กรุงเทพมหานคร) ภาคเหนื อ และภาคใต้ มี ผู้ย้ายถิ่ น 4.8 3.6 และ 2.1 แสนคนตามล� ำดับ ส่วนกรุงเทพมหานคร มี ผู้ย้ายถิ่ นน้อยที่ สุดเพี ยง 4. หมื่ นกว่าคนเท่านั้ น (ตาราง 8.3) เมื่ อพิ จารณาลักษณะประเภทของที่ อยู่อาศัยของครัวเรื อน จะพบว่า ครัวเรื อนส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในบ้าน โดด ซึ่ งเพิ่ มขึ้ นเล็กน้อยจากร้อยละ 80.1 ในปี 2553 เป็นร้อยละ 80.3 ในปี 2554 รองลงมาคื อ ครัวเรื อนที่ มี ที่ อยู่ อาศัยเป็นห้องแถวซึ่ งก็ลดลงจากร้อยละ 12.5 ในปี 2552 เหลื อร้อยละ 11.9 ในปี 2553 และ 2554 ส� ำหรับวัสดุที่ ใช้ ก่อสร้างที่ อยู่อาศัย พบว่า ส่วนใหญ่เป็นตึ ก ถึ งร้อยละ 49.4 ซึ่ งเพิ่ มขึ้ นจากปี 2553 ที่ มี อยู่ร้อยละ 47.9 และรองลง มาใช้ไม้เป็นวัสดุก่อสร้างมี แนวโน้มลดลงจากร้อยละ 31.0 ในปี 2549 ลดลงมาเรื่ อยๆ เหลื อร้อยละ 23.1 ในปี 2554 ทั้ งนี้ เพราะไม้ที่ ใช้ในการก่อสร้างมี ปริ มาณลดลงและราคาแพง (ตารางที่ 8.7) จากตารางที่ 8.8 จะเห็นว่าในปี 2554 ครัวเรื อนสามารถเข้าถึ งแหล่งน� ้ ำดื่ มสะอาด ได้ถึ งร้อยละ 99.5 โดย ครัวเรื อนส่วนใหญ่ดื่มน� ้ ำบรรจุขวด ร้อยละ 37.6 รองลงมาคื อ น� ้ ำฝนและน� ้ ำประปาภายในบ้าน ร้อยละ 30.8 และ23.4 ตามล� ำดับ ในที่ นี้ ภาคใต้ ดื่ มน� ้ำบรรจุขวดมากที่ สุด ร้อยละ 53.0 และรองลงมาคื อน� ้ ำประปาภายในบ้านและน� ้ ำ ฝน ร้อยละ 14.3 และ 13.7 ตามล� ำดับ ส่วนภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ดื่ มน� ้ ำฝนมากที่ สุด ร้อยละ 60.2 รองลงมาคื อ น� ้ ำดื่ มบรรจุขวด ร้อยละ 22.6 ส� ำหรับกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ มี การดื่ มน� ้ ำจากน� ้ ำ ประปาภายในบ้าน ร้อยละ 58.5 รองลงมาคื อน� ้ ำดื่ มบรรจุขวด ร้อยละ 38.7 และในส่วนของน� ้ ำใช้สะอาด พบว่า ครัวเรื อนเข้าถึ งแหล่งน� ้ ำใช้สะอาดในปี 2554 ร้อยละ 98.4 ทุกภาคใช้น� ้ ำ ประปาภายในบ้านมากกว่าน� ้ ำจากแหล่งอื่ นๆ โดยกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ มี การใช้น� ้ ำ ประปาภายในบ้านมากที่ สุด ร้อยละ 96.3 และในภาคกลาง ภาคเหนื อ และภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ก็ใช้น� ้ ำประปา ภายในบ้านมากกว่าน� ้ ำประเภทอื่ น กว่าร้อยละ 70. ยกเว้นภาคใต้ ซึ่ งใช้น� ้ ำประปาภายในบ้าน ร้อยละ 59.3 รองลง มาคื อน� ้ ำบ่อ/บาดาลภายนอกบ้านและในบ้าน ร้อยละ 16.4 และ 15.7 ตามล� ำดับ ส่วนน� ้ ำฝนมี ครัวเรื อนทั่วประเทศใช้ น� ้ ำฝนเพี ยงร้อยละ 0.8 ซึ่ งมี แนวโน้มลดลงเรื่ อย ๆ อาจจะเกิ ดจากสภาพแวดล้อมในปัจจุบันเปลี่ ยนแปลงไป และใน อากาศก็มี มลพิ ษเพิ่ มมากขึ้ น ท� ำให้น� ้ ำฝนไม่สะอาดเท่าที่ควร ประชาชนจึ งหันมาน� ้ ำประปาภายในบ้าน ที่ สะดวกและ มั่นใจในความสะอาดกว่า การตั้งถิ่ นฐานของมนุษย์
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==