Thailand Environment Statistics 2012

สถิติสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย พ.ศ.2555 อ-2 ไนโตรเจนไดออกไซด์ (Nitrogen Dioxide : NO 2 ) เป็นก๊าซไม่มี สี มี กลิ่ นฉุน และมี น� ้ ำหนัก ซึ่ งเกิ ดจาก กระบวนการเผาไหม้เชื้ อเพลิ งฟอสซิลเป็นหลักเกิ ดขึ้ นตามธรรมชาติ ได้แก่ ฟ้าผ่า ฟ้าแลบ ภูเขาไฟระเบิ ดปฏิ กิ ริ ยา ขิ งจุลิ นทรี ย์ในดิ นหรื ออาจเกิ ดจากการกระท� ำของมนุษย์ เช่น การเผาผลาญเชื้ อเพลิ ง การอุตสาหกรรม การท� ำกรด ไนตริ ก กรดก� ำมะถันการชุบโลหะและการท� ำวัตถุระเบิ ด เป็นต้น ก๊าซโอโซน (Ozone : O 3 ) โอโซนจะอยู่ในรูปของออกซิ เจนที่ เป็นชั้ นป้องกันโลกจากรังสี อุลตราไวโอเล็ตใน ชั้นบรรยากาศโทรโปสเฟียร์ (ซึ่ งอยู่ 7-10 ไมล์จากผิ วโลก) ฝุ่นรวม(Total Suspended Particulate : TSP) ฝุ่นขนาดใหญ่ที่ มี เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 100 ไมครอน ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (Particulate Matter : PM 10 ) หรื อ ฝุ่นหยาบ (Course Particle) เป็นอนุภาคที่ มี เส้นผ่านศูนย์กลาง น้อยกว่า 10 ไมครอน ที่ แขวนลอยอยู่ในอากาศได้นาน โดยทั่วไปมี แหล่งก� ำเนิ ด ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คื อ ธรรมชาติ เช่น เขม่าควันจากไฟป่า กิ จกรรมที่ มนุษย์สร้างขึ้ น เช่น การคมนาคมขนส่ง อุตสาหกรรม มี ผลให้ทัศนวิ สัยในการมองเห็นเสื่ อมลง ท� ำลายพื้ นผิ วของวัสดุและสิ่ งก่อสร้าง หากเข้าสู่ระบบทางเดิ น หายใจของมนุษย์จะก่อให้เกิ ดการระคายเคื องและท� ำลายเนื้ อเยื่ อบริ เวณนั้ น และจะสะสมจนประสิ ทธิ ภาพในการ ท� ำงานน้อยลง ตะกั่ว (Lead: Pb) โลหะสี เทาเข้ม ค่อนข้างอ่อน เกิ ดอยู่ในแร่หลายชนิ ดที่ ส� ำคัญ คื อ กาลี นา (PbS) การ ถลุงตะกั่วมักได้โลหะเงินออกมาด้วยเล็กน้อย ตะกั่วสะสมในร่างกายและท� ำลายสุขภาพของคนเราได้เมื่ อมี มากถึ ง ระดับหนึ่ ง โดยพิ ษของตะกั่วท� ำให้เกิ ดการเปลี่ ยนแปลงของเม็ดเลื อดแดง มี ผลกระทบต่อระบบประสาท และท� ำให้เกิ ด อันตรายต่อไตได้(ที่ มา: กรมควบคุมมลพิ ษ) ระดับเสี ยงเฉลี่ ย (Leq) (Equivalent Continuous Sound Level ) 24 ชั่วโมง ค่าเฉลี่ ยของพลังงานเสี ยง ต่อเนื่ องภายใน 24 ชั่วโมง และมาตรฐานระดับเสี ยงโดยทั่วไปของประเทศไทยก� ำหนดค่าระดับเสี ยงเฉลี่ ย (Leq ) 24 ชั่วโมงไว้ไม่เกิ น 70 เดซิ เบล ดิ น (SOIL) ดิ นเปรี้ ยวจัด (Acid Sulfate Soil) หมายถึ ง ดิ นที่ มี สภาพความเป็นกรดสูงมาก เนื่ องจากอาจจะมี ก� ำลัง มี หรื อได้เคยมี กรดก� ำมะถันซึ่ งเป็นผลสืบเนื่ องมาจากการเกิ ดดิ นชนิ ดนี้ อยู่ในหน้าตัดของดิ น และปริ มาณของกรด ก� ำมะถันที่ เกิ ดขึ้ นนั้ นมี มากพอที่ จะมี ผลกระทบต่ อการเปลี่ ยนแปลงสมบัติ ของดิ นและการเจริ ญเติ บโตของพื ชใน บริ เวณนั้ น ดิ นอิ นทรี ย์ (Organic Soil) หรื อที่ เรี ยกกันโดยทั่วไปว่า “ดิ นพรุ” หมายถึ ง ดิ นที่ เกิ ดจากการสะสมเศษ ซากอิ นทรี ย์ ที่ เกิ ดจากการสลายตัวเน่าเปื่อยของพื ชพรรณไม้ตามธรรมชาติ ที่ ขึ้ นอยู่ในแอ่งที่ ลุ่มต�่ ำมี น� ้ ำแช่ขังเป็นเวลา นาน จนเกิ ดการสะสมเป็นชั้นดิ นอิ นทรี ย์ที่ หนากว่า 40 ซม เป็นดิ นที่ มี ชิ้ นส่วนของพื ชเป็นองค์ประกอบมาก พื้ นที่ มัก จะมี น� ้ ำขัง หากระบายน� ้ ำออกจนแห้ง ดิ นจะยุบตัวมาก มี น� ้ ำหนักเบา ติ ดไฟง่าย และต้นพื ชที่ ปลูกไม่สามารถตั้ งตรงอยู่ ได้ นอกจากนี้ ในบริ เวณที่ มี ดิ นที่ มี ศักยภาพเป็นดิ นเปรี้ ยวจัดอยู่ตอนล่าง หลังจากมี การระบายน� ้ ำออก ดิ นจะกลายเป็น ดิ นกรดจัดรุนแรงด้วย ดิ นเค็ม (Saline Soil) ดิ นที่ เกิ ดจากการที่ มี น� ้ ำทะเลท่วมถึ งเป็นบางครั้ งบางคราว หรื อเคยท่วมถึ งมาก่อน จะมี ปัญหาเนื่ องจากมี เกลื อโซเดี ยมคลอไรด์ (เกลื อแกง) สะสมอยู่ในปริ มาณที่ สูง จึ งเป็นอันตรายต่อการเจริ ญเติ บโต ของพื ช ดิ นทรายจัด (Sandy Soil) ดิ นที่ มี ปริ มาณทรายเป็นส่วนประกอบสูง คุณสมบัติ ของดิ นจะมี เนื้ อดิ นเป็น ทรายจัด มี ความอุดมสมบูรณ์และความสามารถในการอุ้มน� ้ ำต�่ ำมาก ดิ นตื้ น (Shallow Soil) ดิ นที่ มี กรวด เศษหิ น หรื อศิ ลาแรง ในระดับตื้ นกว่า 50 เซนติ เมตร บางแห่งจะพบ กรวดดังกล่าวตั้ งแต่ผิ วดิ นบน

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==