Thailand Environment Statistics 2012
สถิติสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย พ.ศ.2555 อ-3 เนื้ อที่ ถื อครองท� ำการเกษตร (Agrieultuer Land holding) เนื้ อที่ รวมของที่ ดิ นทุกผื นภายในจังหวัดที่ ผู้ ถื อครองใช้อยู่และท� ำการเกษตร ซึ่ งที่ ดิ นดังกล่าว ผู้ถื อครองอาจเป็นเจ้าของ เช่าหรื อท� ำฟรี ในที่ สาธารณะ/ป่าสงวน/ที่ ของผู้อื่ นก็ได้ ที่ ดิ นที่ ใช้ท� ำการเกษตรผืนใด มี บริ เวณลานในไร่นา ยุ้งฉาง โรงเก็บเครื่ องมื อ เครื่ องใช้ บ้านและบริ เวณ บ้านป่า คันบ่อ ฯลฯ อยู่ด้วย ให้รวมที่ ดิ นดังกล่าวเข้าไปด้วย รวมที่ ดิ นทั้ งผื นที่ เคยใช้ท� ำการเกษตร แต่พักทิ้ งไว้ ไม่มี การ ปลูกพื ช เลี้ ยงสัตว์ และเพาะเลี้ ยงสัตว์น� ้ ำในพื้ นที่ น� ้ ำจื ด ตั้ งแต่ 1 ปีขึ้ นไปแต่ไม่ถึ ง 5 ปี แต่ไม่รวมที่ ดิ นทั้ งผื นที่ ให้ผู้อื่ น เช่า หรื อยอมให้ผู้อื่นท� ำประโยชน์โดยไม่คิ ดค่าเช่า เคยใช้ท� ำการเกษตรแต่ พักทิ้ งตั้ งแต่ 5 ปีขึ้ นไปและเป็นที่ ปลูกบ้าน สิ่ งปลูกสร้างและป่าขึ้ นเองตามธรรมชาติ ผู้ถื อครองท� ำการเกษตร (Agricultural holder) บุคคลธรรมดาหรื อนิ ติ บุคคลซึ่ งควบคุมจัดการและมี อ� ำนาจตัดสิ นใจเกี่ ยวกับการท� ำการเกษตร และเป็นผู้ที่ รับผิ ดชอบทั้ งทางด้านเทคนิ คและการเงิ น บุคคลนั้ นอาจด� ำเนิ น งานเองหรื อมอบให้ผู้จัดการ หรื อผู้ที่ ได้รับมอบหมาย ด� ำเนิ นงานหรื อดูแลแทนก็ได้ ถ้าผู้ที่ ได้รับมอบหมาย มี ส่วนร่วม รับผิ ดชอบทั้ งทางด้านเทคนิ คและการเงิ น ก็ให้ถื อว่าบุคคลนั้ นถื อครองท� ำการเกษตร น�้ ำ (WATER) พื้ นที่ ลุ่มน�้ ำ (Drainage area) หมายถึ ง บริ เวณพื้ นที่ ซึ่ งครอบคลุมล� ำน� ้ ำธรรมชาติ ตอนใด ตอนหนึ่ งเหนื อ จุดที่ ได้ก� ำหนดในล� ำน� ้ ำนั้ น ๆ ท� ำหน้าที่ เป็นแหล่งรวมน� ้ ำทั้ งที่ ไหลมาบนผิ วดิ นและที่ ซึ มออกจากดิ นให้ระบายลงสู่ล� ำน� ้ ำ และไหลไปยังจุดที่ ก� ำหนด ปริ มาณน�้ ำท่า (Runoff) หมายถึ ง ปริ มาณน� ้ ำในล� ำธารที่ เกิ ดจากน� ้ ำฝน ผ่านกระบวนการเก็บกัก ณ จุด ต่าง ๆ และระบายลงสู่พื้ นที่ ตอนล่าง ปริ มาณน�้ ำที่ น� ำไปใช้งานได ้ (Effective storage capacity) ปริ มาณน� ้ ำที่ สามารถน� ำไปใช้งานได้ ณ ขณะ เวลานั้ น พื้ นที่ ชลประทาน (irrigable area) คื อ การพัฒนาทรัพยากรน� ้ ำโดยการจัดสรรน� ้ ำเพื่ อประโยชน์ต่างๆ เช่น การเก็บกักน� ้ ำ การส่งน� ้ ำเพื่ อการเพาะปลูก การระบายน� ้ ำ การแปรสภาพที่ ดิ น การบรรเทาอุทกภัย การไฟฟ้าพลังน� ้ ำ และการคมนาคมทางน� ้ ำ พื้ นที่ ที่ มี ศักยภาพพัฒนาเป็นพื้ นที่ ชลประทาน หมายถึ ง พื้ นที่ ที่ มี สภาพดิ นเหมาะสมกับการปลูกข้าว ออกซิ เจนละลายน�้ ำ (Dissolved Oxygen : DO) เป็นปัจจัยส� ำคัญที่ ชี้ ให้เห็นสภาวะคุณภาพของแหล่ง น� ้ ำว่าเป็นอย่างไร เหมาะแก่การด� ำรงชี วิ ตของสิ่ งมี ชี วิ ตในน� ้ ำหรื อไม่ โดยทั่วไปปริ มาณออกซิ เจนละลายน� ้ ำที่ พอเหมาะ ต่อการเจริ ญเติ บโตของสัตว์น� ้ ำควรมี ไม่ต�่ ำกว่า 4 มก./ล. น� ้ ำธรรมชาติ ที่ มี คุณภาพดี มักมี DO อยู่ระหว่าง 5-7 มก./ ล.การวัดค่าความเข้มข้นของออกซิ เจนละลายน� ้ ำสามารถท� ำได้ทั้ งวิ ธี ทางเคมี และใช้เครื่ องวัดโดยตรง ความต้องการออกซิ เจน (Biochemical Oxygen Demand : BOD) ความต้องการปริ มาณออกซิ เจน ทางชี วเคมี หรื อถูกแบคที เรี ยใช้ในการย่อยสลายสารอิ นทรี ย์ที่ ปะปนในน� ้ ำ เป็นค่าวัดความสกปรกของน� ้ ำในรูปปริ มาณ อิ นทรี ย์สาร มี สาเหตุมาจากการระบายน� ้ ำทิ้ งจากกิ จกรรมประเภทต่างๆ ที่ มี ปริ มาณสารอิ นทรี ย์ปะปนลงสู่แหล่งน� ้ ำ อันได้แก่ น� ้ ำทิ้ งจากโรงงานอุตสาหกรรม น� ้ ำทิ้ งจากเกษตรกรรม และน� ้ ำทิ้ งจากชุมชน แบคที เรียกลุ่มโคลิ ฟอร์มทั้งหมด (Total Coliform Bacteria : TCB) ปริ มาณโคลิ ฟอร์มแบคที เรี ยที่ พบในแหล่งน� ้ ำส่วนใหญ่มี สาเหตุมาจากโคลิ ฟอร์มแบคที เรี ยที่ มี อยู่ในอุจจาระของคนและสัตว์ เมื่ อตรวจพบแบคที เรี ย โคลิ ฟอร์มจะสามารถสรุปได้ว่าน� ้ ำนั้ นมี อุจจาระหรื อปัสสาวะของคนหรื อสัตว์ปนเปื้อนมา และอาจจะมี เชื้ อโรคของ ระบบทางเดิ นอาหารปะปนอยู่ด้วย สารแขวนลอย (Suspended Solid: SS) หมายถึ ง สารขนาดเล็กลอยแขวนอยู่ในน� ้ ำ เกิ ดจากการเน่าเปื่อย ผุผังของสารอิ นทรี ย์ เช่น เศษไม้ กระดาษ เศษอาหาร เศษขยะ พวกนี้ จะมี ทั้ งชนิ ดตกตะกอนได้ (Settleable Solids) และสารที่ ไม่ตกตะกอน (Colloidal Suspended Solids) จะปะปนมากับน� ้ ำตามลักษณะของแหล่งน� ้ ำ ปริ มาณของสาร แขวนลอยในแม่น� ้ ำจะเพิ่ มขึ้ นจากตอนบนมายังบริ เวณตอนล่างของแม่น� ้ ำ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==