Thailand Environment Statistics 2012

สถิติสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย พ.ศ.2555 อ-4 โดยเฉพาะอย่างยิ่ งในช่วงใกล้ปากแม่น� ้ ำจะพบปริ มาณสารแขวนลอยมาก โดยพิ จารณาได้จากลักษณะของน� ้ ำในขณะ น� ้ ำลงจะพบว่ามี สี น� ้ ำตาลขุ่น ซึ่ งเป็นสี ของตะกอนดิ นที่ ฟุ้งกระจายนั่นเอง ปริ มาณของแข็งทั้ งหมด ที่ ปะปนอยู่ในน� ้ ำทิ้ ง สารอิ นทรีย์และอนิ นทรี ย์ เป็นเครื่ องชี้ วัดความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน� ้ ำ ป่าไม้ (FOREST) ป่าสงวนแห่งชาติ (National forest reserved) พื้ นที่ ป่าที่ ได้รับการสงวนและคุ้มครองไว้ ภายใต้พระราช บัญญัติ ป่าสงวนแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2507 โดยตามวัตถุประสงค์ดั้ งเดิ มนั้ น ป่าสงวนแห่งชาติ คื อ พื้ นที่ ที่ รัฐบาลต้องเก็บ รักษาไว้ให้มี สภาพเป็นป่าไม้เพื่ อประโยชน์ในหลายรูปแบบ ทั้ งในด้านผลผลิ ตเนื้ อที่ ป่าไม้และของป่า การเป็นป่าป้องกัน ภัยธรรมชาติ รักษาต้นน� ้ ำล� ำธาร สภาพแวดล้อมและสร้างความสมดุลในระบบนิ เวศ อุทยานแห่งชาติ (National park) พื้ นที่ ซึ่ งรัฐบาลเห็นว่ามี สภาพธรรมชาติ เป็นที่ น่าสนใจสมควรสงวนไว้ เป็นพิ เศษ เพื่ อรักษาสภาพแวดล้อมธรรมชาติ ให้คงเดิ มถาวรตลอดไป เพื่ อประโยชน์ในการท่องเที่ ยว พักผ่อน หย่อนใจ และเพื่ อศึ กษาค้นหาความรู้ อุทยานแห่งชาติ ที่ อยู่ในระดับมาตรฐานสากลจะต้องมี พื้ นที่ ไม่ต�่ ำกว่า 10 ตารางกิ โลเมตร หรื อ 3,250 ไ ร่ที่ บริ หารโดยหน่วยงานของรัฐบาลกลาง และมี เจ้าหน้าที่ เพี ยงพอที่ จะคุ้มครองป้องกันพื้ นที่ อนุรักษ์ให้ รอดพ้นจากการบุกรุกท� ำลาย วนอุทยาน (Forest park) สถานที่ ในป่าที่ มี ทิ วทัศน์สวยงาม เช่น มี น� ้ ำตก หน้าผา มี หมู่ไม้ที่ สวยงาม มี ธรรมชาติ ที่ เหมาะส� ำหรับการพักผ่อนหย่อนใจ กรมป่าไม้จึ งจัดไว้เป็นที่ พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน โดยปกติ แล้ว จะมี เน้ื อที่ เล็ก ๆ ไม่กว้างใหญ่เหมื อนอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า (Wildlife conservation area) พื้ นที่ ที่ ก� ำหนดโดยพระราชกฤษฎี กาและประกาศ ในพระราชกิ จจานุเบกษาให้เป็นพื้ นที่ ที่ คุ้มครอง เพื่ อให้เป็นที่ อยู่อาศัยของสัตว์ป่าโดยปลอดภัยเป็นการรักษาไว้ซึ่ ง พันธุ์สัตว์ป่า และขยายจ� ำนวนสัตว์ป่าให้มี จ� ำนวนเพิ่ มมากขึ้ น ซึ่ งก� ำหนดให้เป็นพื้ นที่ ที่ ปลอดจาก กิ จกรรมต่างๆ ของ มนุษย์ที่ อาจรบกวนถิ่ นที่ อยู่อาศัยและการด� ำรงชี วิ ตของสัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า (Non - hunting area) พื้ นที่ คุ้มครองประเภทหนึ่ ง ซึ่ งรัฐได้ประกาศขึ้ นให้เป็นที่ อยู่ อาศัยของสัตว์ป่าบางชนิ ด หรื อเป็นที่ ที่ สัตว์ป่าต้องการใช้ส� ำหรับกิ จกรรมบางอย่างในการด� ำรงชี วิ ต เช่น เป็นที่ ผสม พันธุ์ วางไข่ เลี้ ยงลูกอ่อน เป็นแหล่งอาหาร เป็นที่ พักระหว่างเดิ นทางย้ายถิ่ นฐาน เป็นต้น เพื่ อคุ้มครองสัตว์ป่าบาง ชนิ ดที่ ก� ำหนด สวนพฤกษศาสตร์ (Botanical garden) พื้ นที่ คุ้มครองประเภทหนึ่ ง ซึ่ งเป็นสถานที่ ที่ สร้างขึ้ นเพื่อรวบรวม พันธุ์ไม้ทุกชนิดทั้งในและนอกประเทศที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจความสวยงามหรือที่หายากมาปลูกไว้เป็นล� ำดับหมวด หมู่และตระกูล เพื่ อการศึ กษาวิ จัยและการเผยแพร่ขยายพันธุ์ให้เป็นประโยชน์แก่ประชาชนและประเทศชาติ ต่ไป สวนรุกขชาติ (Arboretum) พื้ นที่ คุ้มครองประเภทหนึ่ ง มี ลักษณะเป็นสวนเล็กๆ มี เนื้ อที่ น้อยกว่าสวน พฤกษศาสตร์ สร้างขึ้ นเพื่ อปลูกรวบรวมพันธุ์ไม้ต่างๆ ไว้ โดยเฉพาะไม้ยื นต้นที่ มี ค่าในทางเศรษฐกิ จและไม้ดอกซึ่ งมี อยู่ในท้องถิ่ นนั้ น แต่มิ ได้ปลูกเป็นหมวดหมู่เหมื อนอย่างในสวนพฤกษศาสตร์แต่มี ชื่ อพันธุ์ไม้ติ ดไว้ จุดมุ่งหมายเพื่ อการ พักผ่อนหย่อนใจ และการศึ กษา ป่าชายเลน (Mangrove forest) คื อ ระบบนิ เวศที่ ประกอบไปด้วยพันธุ์พื ช พันธุ์สัตว์ หลายชนิ ด ด� ำรงชี วิ ต ร่วมกันในสภาพแวดล้อมที่ เป็นดิ นเลน น� ้ ำกร่อย และมี น� ้ ำทะเลท่วมถึ งอย่างสม�่ ำเสมอ ดังนั้ นจึ งพบป่าชายเลนปรากฏ อยู่ทั่วไปตามบริ เวณที่ เป็นชายฝั่งทะเล ปากแม่น� ้ ำ ทะเลสาบ และ รอบเกาะแก่งต่างๆ ในพื้ นที่ ชายฝั่งทะเล พันธุ์ไม้ที่ มี มากและมี บทบาทส� ำคัญที่ สุดในป่าชายเลน คื อ ไม้โกงกาง ป่าชายเลนจึ งมี ชื่ อเรี ยกอี กอย่างว่า ป่าโกงกาง

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==