Thailand Environment Statistics 2012

สถิติสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย พ.ศ.2555 อ-5 พลังงาน (ENERGY) ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas) คื อ เชื้ อเพลิ งประเภทฟอสซิ ลอย่างหนึ่ ง ซึ่ งพบได้ในแอ่งใต้พื้ นดิ น หรื ออาจ พบร่วมกับน� ้ ำมันดิ บ ก๊าซธรรมชาติ เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซึ่ งประกอบด้วย ธาตุถ่านคาร์บอน (C) กับธาตุ ไฮโดรเจน (H) จับตัวกันเป็นโมเลกุล โดยเกิ ดขึ้ นเองตามธรรมชาติ จากการทับถมของซากสิ่ งมี ชี วิ ตตามชั้ นหิ น ดิ น และ ในทะเลหลายร้อยล้านปีมาแล้ว เช่นเดี ยวกับน� ้ ำมัน และเนื่ องจากความร้อนและความกดดันของผิ วโลกจึ งแปรสภาพ เป็นก๊าซ คุณสมบัติ ของก๊าซธรรมชาติ ไม่มี สี ไม่มี กลิ่ น ( ยกเว้นกลิ่ นที่ เติ มเพื่ อให้รู้เมื่ อเกิ ดการรั่วไหล ) และไม่มี พิ ษ ใน สถานะปกติ มี สภาพเป็นก๊าซหรื อไอที่ อุณหภูมิ และความดันบรรยากาศ โดยมี ค่าความถ่วงจ� ำเพาะต�่ ำกว่าอากาศจึ ง เบากว่าอากาศ เมื่ อเกิ ดการรั่วไหลจะฟุ้งกระจายไปตามบรรยากาศอย่างรวดเร็ว จึ งไม่มี การสะสมลุกไหม้บนพื้ นราบ พลังงานหมุนเวี ยนหรื อพลังงานทดแทน (Renewable energy) พลังงานที่ ได้จากไม้ ฟืน แกลบ กากอ้อย น� ้ ำ แสงอาทิ ตย์ ลมและคลื่ น เป็นต้น น�้ ำมันดิ บ (Crude oil) ปิโตรเลี ยมในสภาพเหลวตามธรรมชาติ ซึ่ งได้จากบ่อน� ้ ำมัน หรื อได้ผ่านเครื่ องแยก แก๊สออกไปแล้ว แต่ยังมิ ได้ท� ำให้บริ สุทธิ์ หรื อยังมิ ได้น� ำไปกลั่นแยกออกตามล� ำดับขั้ น คอนเดนเสท (Condensate) ก๊าซธรรมชาติ ที่ มี สูตรโครงสร้างของโมเลกุล ประกอบด้วยคาร์บอน 5 ตัว (เพนเทน) หรื อ 6 ตัว (เฮกเซน) มี สถานะเป็นของเหลวที่ อุณหภูมิ และความดันของบรรยากาศ เชื้ อเพลิ งชี วภาพ (Biofuel) เชื้ อเพลิ งที่ ได้จากชี วมวล (Bimass) หรื อ สสารที่ ได้จากพื ชและสัตว์โดยมี พื้ นฐานจากการสังเคราะห์แสง แล้วเก็บรวบรวมพลังงานจากดวงอาทิ ตย์เอาไว้ในรูปของพลังงานเคมี เป็นพลังงาน หมุนเวี ยนที่ สามารถฟื้นฟูหรื อสร้างขึ้ นใหม่ได้ ตราบใดที่ ต้นไม้และพื ชไม่ถูกตัดโค่นในอัตราที่ รวดเร็วเกิ นกว่าที่ จะ สามารถปลูกทดแทนให้เจริญเติ บโตขึ้ นมาได้ทัน เชื้ อเพลิ งชี วภาพ มี 3 รูปแบบคื อ - ของแข็ง ได้แก่ ไม้ ขี้ เลื่ อย ฟางข้าว ซังข้าวโพด ชานอ้อย มูลสัตว์ ถ่าน เขา เปลื อกสัตว์หรื อเปลื อกพื ช อาทิ แกลบข้าว ฝ้าย ถั่วลิ สง เป็นต้น - ของเหลว แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1) แอลกอฮอล์ ที่ น� ำมาใช้เป็นเชื้ อเพลิ งมี 2 ชนิ ดคื อ เอทานอล (แอลกอฮอล์ที่ รับประทานได้) และ เมทานอล (แอลกอฮอล์ที่ ไม่สามารถรับประทานได้) 2) น� ้ ำมันจากพื ชและสัตว์ ได้แก่ น� ้ ำมันพื ชบริ สุทธิ์ น� ้ ำมันพื ชที่ ใช้แล้ว (Waste Vegetable Oil) ไขสัตว์ และ ไบโอดี เซลที่ ผลิ ตจากน� ้ ำมันพื ช ไขสัตว์ และน� ้ ำมันพื ชใช้แล้ว โดยผ่านกรรมวิ ธี ทางเคมี 3) น� ้ ำมันจากขยะ ซึ่ งมี คุณลักษณะทางเคมี และกายภาพคล้ายคลึ งกับปิโตรเลี ยม สามารถสกัดจากขยะ ชี วมวลมาใช้งานได้ - ก๊าซชี วภาพ (Biogas) : ประกอบไปด้วยก๊าซหลายชนิ ด ส่วนใหญ่เป็นก๊าซมี เทน (CH 4 ) 50-70 % และก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO 2 ) 30-50 % ส่วนที่ เหลื อเป็นก๊าซอื่ นๆ เช่น แอมโมเนี ย (NH 3 ), ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H 2 S) และ ไอน� ้ ำ (H 2 O) เป็นต้น จึ งสะดวกและสามารถใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ต่างๆ ที่ ส� ำคัญคื อ การเผาเชื้ อเพลิ งชี วภาพไม่ก่อให้เกิ ด ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นและยังก่อให้เกิดปริมาณก๊าซพิษน้อยกว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่นเมื่อเทียบกันในอัตราต่อ หน่วย จึงเท่ากับเป็นการช่วยรักษาสภาพแวดล้อมได้อย่างมาก ผู้ผลิ ตไฟฟ้ารายย่อย (Small Power Producer : SPP) โครงการผลิ ตไฟฟ้าโดยใช้ระบบการผลิ ตพลังงาน ความร้อน และไฟฟ้าร่วมกัน (Cogeneration) หรื อการผลิ ตไฟฟ้า โดยใช้พลังงานนอกรูปแบบ กากหรื อเศษวัสดุเหลื อใช้ เป็นเชื้ อเพลิ ง โครงการ SPP แต่ละโครงการ จะจ� ำหน่ายไฟฟ้าให้ กฟผ. ไม่เกิ น 90 เมกะวัตต์ (MW) แต่เนื่ องจาก SPP แต่ละแห่งสามารถขายไฟฟ้าให้ผู้บริ โภค ที่ อยู่ในบริ เวณใกล้เคี ยงได้โดยตรง ก� ำลังการผลิ ตของ SPP มักจะอยู่ในระดับ 120-150 MW SPP บางโครงการมี ขนาดใกล้เคี ยงกับ IPP แต่ใช้รูปแบบการผลิ ตเป็นระบบ Cogeneration

RkJQdWJsaXNoZXIy MTA3NzA0Nw==